Sie sind auf Seite 1von 5

กฎหมายแพ่ง 3 ครอบครัว มรดก

หน่วยเน ้น หน่วยที่ 1,2,5,6,9-13

เนือ้ หาทีส ่ ามารถนำมาออกข ้อสอบอัตนัย แบ่งได ้เป็ น 3 กลุม ่ ดังนี้


กลุม ่ ที่ 1 กฎหมายครอบครัว (การหมัน ้ การสมรส ) หน่วยที่ 1-2
เรือ
่ งที่ 1 การหมัน ้ (หน่วยที่ 1) มีมาตราทีค ่ วรทำความเข ้าใจ ดังนี้
1. มาตรา 1435 อายุของชายหญิงทีทำ ่ การหมัน ้ ถ ้าฝ่ าฝื นเป็ นโมฆะ เปรียบเทียบกับมาตรา 1448 ซงึ่ ถ ้าฝ่ าฝื น
การสมรสเป็ นโมฆียะ
2. มาตรา 1436 ผู ้ให ้ความยินยอมในการหมัน ้ ถ ้าฝ่ าฝื นเป็ นโมฆียะ เปรียบเทียบกับมาตรา 1454 และมาตรา
1455 เรือ ่ งการสมรส
3. มาตรา 1437 เรือ ่ งความสมบูรณ์ของการหมัน ้ ดูความหมายเรือ ่ งของหมัน ้ สนิ สอด และการเรียกคืนของ
หมัน ้ หรือสน ิ สอด
4. มาตรา 1438 การทำสญ ั ญาหมัน ้ ไม่สามารถบังคับให ้ทำการสมรสได ้
5. มาตรา 1439 กรณีผด ิ สญ ั ญาหมัน ้ ถ ้าฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ ผิดสญ ั ญาต ้องใชค่้ าทดแทน ถ ้าฝ่ ายหญิงผิดสญ ั ญา
ต ้องคืนของหมัน ้ ด ้วย ซงึ่ ค่าทดแทนทีเ่ รียกได ้นั น ้ เป็ นไปตามมาตรา 1440 ซงึ่ มีเพียง 3 กรณีเท่านัน ้
6. มาตรา 1441 คูห ่ มัน ้ ตายก่อนทำการสมรส เรียกค่าทดแทนต่อกันไม่ได ้ และไม่สามารถเรียกคืนของหมัน ้ ได ้
7. มาตรา 1442 ชายไม่สมรสกับหญิงเพราะเหตุเกิดแก่ฝ่ายหญิง และมาตรา 1443 หญิงไม่ทำการสมรสกับ
ชายเพราะเหตุเกิดจากฝ่ ายชาย
8. มาตรา 1444 กรณีการกระทำชวั่ อย่างร ้ายแรงของคูห ่ มัน้ เป็ นเหตุให ้บอกเลิกสญ ั ญา เป็ นเหตุให ้เรียกค่า
ทดแทนได ้ตามมาตรา 1440
9. มาตรา 1445 สท ิ ธิในการเรียกค่าทดแทนจากชายอืน ่ ซงึ่ ได ้ร่วมประเวณีหญิงคูห ่ มัน
้ เป็ นกรณีทห
ี่ ญิงยินยอม
ให ้ชายอืน ่ ร่วมประเวณี เมือ ่ ชายคูห่ มัน ้ บอกเลิกสญ ั ญาหมัน ้ ตามมาตรา 1442 แล ้ว
10. มาตรา 1446 สท ิ ธิเรียกค่าทดแทนจากชายอืน ่ ซงึ่ ข่มขืนหรือพยายามข่มขืนกระทำชำเรา ไม่จำต ้องบอก
เลิกสญ ั ญาหมัน ้ ก่อน (เปรียบเทียบกับมาตรา 1445)
11. มาตรา 1447/1 + 1447/2 เรือ ่ งอายุความในการเรียกคืนของหมัน ้ มีอายุความ 6 เดือนนับแต่เกิดเหตุ
ต่างๆ ทีส ่ ามารถเรียกคืนของหมัน ้ ได ้ สว่ นการเรียกคืนสน ิ สอดไม่มอ ้ ความทั่วไปคือ 10
ี ายุความ จึงต ้องใชอายุ
ปี ตามมาตรา 193/30

เรือ
่ งที่ 2 การสมรส (หน่วยที่ 2) มีมาตราทีค ่ วรให ้ความสนใจดังนี้
1. มาตรา 1448 อายุของชายหญิงทีทำ ่ การสมรสกัน ถ ้าฝ่ าฝื นเป็ นโมฆียะตามมาตรา 1503 (เปรียบเทียบกับ
มาตรา 1435)
2. มาตรา 1449 การสมรสกับคนวิกลจริต ฝ่ าฝื นตกเป็ นโมฆะตามมาตรา 1495
3. มาตรา 1450 การสมรสระหว่างญาติ ฝ่ าฝื นตกเป็ นโมฆะตามมาตรา 1495
4. มาตรา 1451 การสมรสระหว่างบุตรบุญธรรมกับผู ้รับบุตรบุญธรรมไม่สามารถทำการสมรสกันได ้ แต่ถ ้าฝ่ าฝื น
การสมรสนัน ้ สมบูรณ์ แต่การรับบุตรบุญธรรมเป็ นอันยกเลิกไปตามมาตรา 1598/32
5. มาตรา 1452 ห ้ามทำการสมรสซอน ้ ฝ่ าฝื นตกเป็ นโมฆะตามมาตรา 1495
6. มาตรา 1453 การสมรสใหม่ของหญิงทีส ่ ามีตายหรือการสมรสสน ิ้ สุดลงโดยประการอืน ่ ถ ้าฝ่ าฝื นการสมรส
นัน
้ สมบูรณ์
7. มาตรา 1454 + 1456 ผู ้เยาว์ทำการสมรส
8. มาตรา 1455 ความยินยอมในการทำการสมรส ถ ้าฝ่ าฝื นเป็ นโมฆียะ เปรียบเทียบกับมาตรา 1436
9. มาตรา 1457 การสมรสต ้องทำการจดทะเบียน
10. มาตรา 1458 การสมรสจะกระทำได ้ต่อเมือ ่ ชายหญิงยินยอม ต ้องแสดงความยินยอมโดยเปิ ดเผยต่อนาย
ทะเบียน และนายทะเบียนต ้องบันทึกความยินยอมนั น ้ ฝ่ าฝื นตกเป็ นโมฆะตามมาตรา 1495
11. มาตรา 1459 การทำการสมรสกันในต่างประเทศ ใชบั้ งคับกับคูส ่ มรสทีอ
่ ย่างน ้อยฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่ มีสญั ชาติ
ไทย
12. มาตรา 1460 พฤติการณ์พเิ ศษทีไ่ ม่อาจทำการสมรสต่อนายทะเบียนได ้
13. มาตรา 1461 ชายหญิงต ้องอยูก ่ นิ กันฉั นสามีภริยา
14. มาตรา 1462 กรณีขอให ้ศาลสงั่ อนุญาตให ้สามีภริยาแยกกันอยู่
15. มาตรา 1463 สามีหรือภริยาเป็ นคนไร ้ความสามารถ อีกฝ่ ายหนึง่ จ ้องเป็ นผู ้อนุบาล หรือผู ้พิทักษ์ แล ้วแต่
กรณี เป็ นไปตามหลักมาตรา 1461

กลุม ่ ที่ 2 กฎหมายครอบครัว (บิดา มารดา และบุตร) หน่วยที่ 5-6


เรือ
่ งที่ 1 บิดามารดา หน่วยที่ 5 มีมาตราทีค
่ วรทำความเข ้าใจดังนี้
1. การเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมาย
1.1 เด็กทีเ่ กิดก่อนสมรส
1) การเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมายของมารดา ตามมาตรา 1546
2) การเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมายของบิดา ตามมาตรา 1547 ซงึ่ มี 3 กรณีคอ ื บิดามารดาได ้ทำการสมรสกันใน
ภายหลัง บิดาได ้จดทะเบียนรับรองว่าเป็ นบุตร (มาตรา 1548) และศาลมีคำพิพากษาว่าเป็ นบุตร ซงึ่ เวลาทีม ่ ี
ผลของการเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมายของบิดาทัง้ 3 กรณีเป็ นไปตามมาตรา 1557
1.2 เด็กทีเ่ กิดระหว่างสมรส
1) เด็กทีเ่ กิดจากการสมรสชอบด ้วยกฎหมาย (การสมรสกระทำไปตามมาตรา 1457, 1458) เป็ นไปตามมาตรา
1536 วรรค 1
2) เด็กทีเ่ กิดจากการสมรสภายหลังมีคำพิพากษาของศาลถึงทีส ่ ดุ ว่าการสมรสนัน ้ เป็ นโมฆะ ตามมาตรา 1536
วรรค 2
3) เด็กทีเ่ กิดจากการสมรสซอน ้ ตามมาตรา 1538
4) เด็กทีเ่ กิดระหว่างสมรสซงึ่ ศาลพิพากษาให ้เพิกถอนในภายหลัง ตามมาตรา 1560 ผลให ้ถือว่าเป็ นบุตรชอบ
ด ้วยกฎหมาย
1.3 เด็กทีเ่ กิดภายหลังการสมรส
1) เด็กทีเ่ กิดภายใน 310 วันนับแต่การสมรสสน ิ้ สุดลง ตามมาตรา 1536 วรรค 1
2) เด็กทีเ่ กิดภายใน 310 วันนับแต่วันทีศ ่ าลมีคำพิพากษาถึงทีส ่ ดุ ว่าการสมรสนัน ้ เป็ นโมฆะ ตามมาตรา 1536
วรรค 2
3) เด็กทีเ่ กิดภายใน 310 วันนับแต่วันทีม ่ คำ
ี พิพากษาของศาลถึงทีส ่ ด
ุ ว่าการสมรสครัง้ หลังเป็ นโมฆะ (เนือ ่ งจา
กฝ่ าฝื นมาตรา 1452) ตามมาตรา 1538 วรรค 3
4)เด็กทีเ่ กิดจากหญิงระหว่างการสมรสใหม่ โดยเด็กเกิดภายใน 310 วันนับแต่การสมรสกับสามีคนเดิมสน ิ้ สุด
ลง ตามมาตรา 1537
2. การจดทะเบียนรับรองบุตร ตามมาตรา 1548 ต ้องทำโดยบิดา ซงึ่ ต ้องได ้รับความยินยอมจากตัวเด็กเองและ
มารดาเด็ก เมือ ่ จดทะเบียนรับเด็กเป็ นบุตรแล ้วจะถอนมิได ้ตามมาตรา 1559
3. การฟ้ องคดีขอให ้รับเด็กเป็ นบุตร ตามมาตรา 1555 มี 7 กรณี ทำความเข ้าใจแต่ละกรณีให ้ชด ั เจน เพราะใน
ทางปฏิบต ั เิ กิดขึน้ อยูเ่ สมอ และดูขน ั ้ ตอนในการฟ้ องคดีขอให ้รับเด็กเป็ นบุตรตามมาตรา 1556 ด ้วย
4. ชายผู ้เป็ นหรือเคยเป็ นสามีปฏิเสธไม่รับเด็กเป็ นบุตร ตามมาตรา 1539 ซงึ่ ต ้องเป็ นกรณีทต ี่ ้องด ้วยข ้อ
ั นิษฐานตามมาตรา 1536, 1537, 1538 มาก่อน ดูขน
สน ั ้ ตอนการฟ้ อง ฟ้ องใคร และชายจะต ้องพิสจ ู น์อะไร ดู
ไปถึงมาตรา 1541 กรณีทช ี่ ายหรือผู ้เคยเป็ นสามีจะฟ้ องคดีไม่รับเด็กเป็ นบุตรไม่ได ้ และมาตรา 1542 เรือ ่ ง
อายุความฟ้ องคดีไม่รับเด็กเป็ นบุตร
5. สทิ ธิของเด็กในการปฏิเสธความเป็ นบุตรชอบด ้วยกฎหมายของชาย ตามมาตรา 1545

เรือ ิ ธิ หน ้าทีข
่ งที่ 2 สท ่ องบิดามารดาและบุตร (หน่วยที่ 6) มีมาตราทีค ่ วรให ้ความสนใจดังนี้
1. มาตรา 1561 สท ิ ธิในการใชช้ อ ื่ สกุลของบิดา
2. มาตรา 1562 การห ้ามฟ้ องบุพการี ถือว่าเป็ นคดีอท ุ ลุมเมือ่ ฟ้ องบุพการีเป็ นคูค ่ วามโดยตรงเท่านัน ้ ถ ้าไม่ใช ่
บุตรทีช ่ อบด ้วยกฎหมายฟ้ องบุพการี ไม่ถอ ื ว่าเป็ นคดีอท ุ ลุม
3. มาตรา 1563 บุตรต ้องอุปการะเลีย ้ งดูบด ิ ามารดา
4. มาตรา 1564 หน ้าทีใ่ นการอุปการะเลีย ้ งดูบต ุ รและให ้การศก ึ ษา
5. มาตรา 1566 อำนาจปกครองของบิดามารดา ดูกรณีทอำ ี่ นาจปกครองอยูก ่ บ
ั บิดาหรือมารดาฝ่ ายใดฝ่ ายหนึง่
ซงึ่ มี 6 กรณีตามวรรค 2
6. มาตรา 1567 สท ิ ธิของผู ้ใชอำนาจปกครอง

7. มาตรา 1568 อำนาจปกครองกรณีทค ี่ ส ู่ มรสมีบต ุ รติดมา
8. มาตรา 1569 ผู ้แทนโดยชอบธรรมของบุตร
9. มาตรา 1571 ความหมายของการใชอำนาจปกครอง ้
10. มาตรา 1573 การจัดสรรเงินได ้ของบุตร
11. มาตรา 1574 นิตก ิ รรมซงึ่ เกีย ่ วกับทรัพย์สน ิ ของผู ้เยาว์ทผ ้
ี่ ู ้ใชอำนาจปกครองกระทำไม่ ได ้ เว ้นแต่ศาลจะ
อนุญาต มี 13 กรณี เปรียบเทียบกับมาตรา 1476 ด ้วย (ให ้ระวังการซอ ื้ ขายรถยนต์ไม่เป็ นกรณีตามมาตรา
1476 (1) เนือ ่ งจากรถยนต์ไม่ใชอ ่ สงั หาริมทรัพย์ หรือสงั หาริมทรัพย์ทอ ี่ าจจำนองได ้)
12. มาตรา 1575 กิจการทีป ้
่ ระโยชน์ของผู ้ใชอำนาจปกครองขั ดกับประโยชน์ของผู ้เยาว์ +มาตรา 1576
13. มาตรา 1582 กรณีเป็ นเหตุให ้ศาลถอนอำนาจปกครอง
14. มาตรา 1584/1 สท ิ ธิของบิดามารดาทีจ ่ ะติดต่อกับบุตรตามควรแห่งพฤติการณ์
15. มาตรา 1585 กรณีทจ ี่ ะจัดให ้มีผู ้ปกครอง
16. มาตรา 1586 กรณีตงั ้ ผู ้ปกครอง
17. มาตรา 1587 บุคคลทีต ่ งั ้ ให ้เป็ นผู ้ปกครองได ้ ดูข ้อยกเว ้นด ้วย ซ งึ่ มี 5 กรณี
18. มาตรา 1598/2 สท ิ ธิและหน ้าทีข ่ องผู ้ปกครอง ดูมาตรา 1564 วรรค 1 และมาตรา 1567 ด ้วย
19. มาตรา 1598/3 ผู ้ปกครองเป็ นผู ้แทนโดยชอบธรรม
20. มาตรา 1598/5 การขอคำปรึกษาผู ้อยูใ่ นปกครองในการทำกิจการทีสำ ่ คัญ
21. มาตรา 1598/6 ความเป็ นผู ้ปกครองย่อมสน ิ้ สุดเมือ ่ ผู ้อยูใ่ นปกครองตายหรือบรรลุนต ิ ภ
ิ าวะ
22. มาตรา 1598/7 ตัวผู ้ปกครองเป็ นเหตุให ้ความปกครองสน ิ้ สุด
23. มาตรา 1598/8 เหตุททำ ี่ ให ้ศาลสงั่ ถอนผู ้ปกครอง และดูไปถึงมาตรา 1598/9 เรือ ิ ธิร ้องขอให ้ถอน
่ งผู ้มีสท
ผู ้ปกครอง
กลุม ่ ที่ 3 กฎหมายมรดก (หน่วยที่ 9-13)
เรือ ่ งที่ 1 สท ิ ธิในการรับมรดก และการแบ่งมรดกระหว่างทายาทโดยธรรม (หน่วยที่ 9) มีมาตราทีค ่ วรให ้ความ
สนใจดังนี้
1. มาตรา 1620 (start) ผู ้ใดตายโดยไม่ได ้ทำพินัยกรรมไว ้ หรือทำไว ้แต่ไม่มผ ี ลบังคับใช ้ ให ้ปั นทรัพย์มรดก
ทัง้ หมดแก่ทายาทโดยธรรม
2. มาตรา 1621 กรณีทายาทโดยธรรมได ้รับทรัพย์สน ิ ตามพินัยกรรมด ้วย
3. มาตรา 1627 กรณีทถ ี่ อ
ื ว่าเป็ นผู ้สบ ื สน ั ดาน = บุตรนอกกฎหมายทีบ ่ ด ิ าได ้รับรองแล ้ว และบุตรบุญธรรม
4. มาตรา 1629 ลำดับของทายาทโดยธรรม 6 ลำดับ สำคัญมากๆๆๆๆๆๆ ต ้องเข ้าใจความหมายของทายาท
โดยธรรมในแต่ละลำดับอย่างดี เชน ่ ในลำดับผู ้สบ ื สน ั ดาน กรณีถอ ื ว่าเป็ นบุตรทีช ่ อบด ้วยกฎหมาย ต ้องนำ
ความรู ้ในหน่วยที่ 5 มาประกอบการวินจ ิ ฉั ยด ้วย เป็ นต ้น
5. มาตรา 1630 ทายาทลำดับหลังไม่มส ี ทิ ธิในการรับมรดก ยกเว ้นทายาทลำดับ 1 และลำดับ 2 ซงึ่ ไม่ตด ิ ธิ
ั สท
ซงึ่ กันและกัน
6. มาตรา 1631 ลำดับของการรับมรดกของทายาทโดยธรรมในชน ั ้ ผู ้สบ ื สน ั ดาน (ทายาทโดยธรรมลำดับ 1)
ชนั ้ สนิททีส ่ ดุ เท่านัน
้ ทีจ
่ ะได ้รับมรดก ชน ั ้ ถัดลงไปจะรับมรดกได ้ก็โดยใชส้ ท ิ ธิในการรับมรดกแทนทีเ่ ท่านัน ้
7. มาตรา 1633 สว่ นแบ่งของทายาทในลำดับเดียวกัน ย่อมเท่ากัน
8. มาตรา 1634 สว่ นแบ่งระหว่างผู ้สบ ื สน ั ดานในการรับมรดกแทนทีก ่ น ั
9. มาตรา 1635 ลำดับและสว่ นแบ่งของคูส ่ มรสทีย ่ ังมีชวี ต
ิ อยู่

เรือ่ งที่ 2 การรับมรดกแทนที่ (หน่วยที่ 10)


1. มาตรา 1639 กรณีผู ้สบ ื สนั ดานเข ้ารับมรดกแทนที่ ต ้องเป็ นทายาทโดยธรรมลำดับที่ 1, 3, 4, 6 เท่านัน ้ ซงึ่
ต ้องเป็ นกรณีการถูกกำจัดก่อนเจ ้ามรดกตายเท่านัน ้ (ให ้ดูความหมายเรือ ่ งการรับมรดกแทนที่ และการสบ ื
มรดก ซงึ่ ไม่เหมือนกัน) ทายาทลำดับที่ 2 และ 5 ไม่สามารถรับมรดกแทนทีก ่ น
ั ได ้ตามมาตรา 1641
2. มาตรา 1640 กรณีสาบสูญสามารถรับมรดกแทนทีไ่ ด ้
3. มาตรา 1642 การรับมรดกแทนที่ ใชบั้ งคับได ้แต่ในระหว่างทายาทโดยธรรม และเฉพาะผู ้สบ ื สน
ั ดานเท่านัน

ทีม่ ส ิ ธิ บุพการีไม่มส
ี ท ี ทิ ธิรับมรดกแทนทีต ่ ามมาตรา 1643 บุตรบุญธรรมไม่มส ี ท ิ ธิในการรับมรดกแทนที่
4. มาตรา 1645 สท ิ ธิในการรับมรดกแทนทีก ่ รณีเป็ นผู ้สละมรดกรายอืน

ผู ้รับมรดกแทนทีต ื สน
่ ้องเป็ นผู ้สบ ั ดานโดยตรง ตามมาตรา 1643 ดังนัน
้ บุตรบุญธรรม จึงไม่สามารถรับมรดก
แทนทีผ ่ ู ้รับบุตรบุญธรรมได ้

เรือ
่ งที่ 3 เรือ
่ งการเสย ี สทิ ธิในการรับมรดก (หน่วยที่ 11)
1. การถูกกำจัดมิให ้รับมรดก
1) มาตรา 1605 การถูกกำจัดมิให ้รับมรดกฐานเป็ นผู ้ยักย ้ายปิ ดบังทรัพย์ ไม่ใชบั้ งคับแก่ผู ้รับพินัยกรรมซงึ่ ทำ
พินัยกรรมยกทรัพย์สน ิ เฉพาะสงิ่ เฉพาะอย่าง
2) มาตรา 1606 การถูกกำจัดมิให ้รับมรดกฐานเป็ นผู ้ไม่สมควร มี 5 กรณี ให ้ทำความเข ้าใจว่ากรณีใดเป็ นการ
ถูกกำจัดก่อนหรือหลังเจ ้ามรดกตาย
3) มาตรา 1607 ผลของการถูกกำจัดมิให ้รับมรดกเป็ นการเฉพาะตัว ผู ้สบ ื สน
ั ดานสามารถสบ ื มรดกต่อไปได ้
(ไม่ใชก ่ ารรับมรดกแทนที่ แต่ผลเหมือนกัน)
2. การตัดมิให ้รับมรดก เป็ นการตัดตลอดสาย ไม่สามารถมีการสบ ื มรดกแทนทีก ่ นั ได ้
1) มาตรา 1608 วิธก ี ารตัดทายาทโดยธรรมมิให ้รับมรดก มี 2 วิธ ี
2) มาตรา 1609 การถอนการแสดงเจตนาการตัดมิให ้รับมรดก
3. การสละมรดก
1) มาตรา 1611 ข ้อจำกัดในการสละมรดก หรือการรับมรดกอันมีเงือ ่ นไขหรือภาระติดพันของทายาททีเ่ ป็ น
บุคคลไร ้ความสามารถ
2) มาตรา 1612 วิธก ี ารสละมรดกมี 2 วิธ ี คือ การทำสญ ั ญาประนีประนอมยอมความ และการทำเป็ นหนังสอ ื ต่อ
พนักงานเจ ้าหน ้าที่ สว่ นการสละมรดกด ้วยวาจา ไม่มผ ี ลใดๆ ตามกฎหมาย
3) มาตรา 1613 การสละมรดก ต ้องเป็ นการสละทัง้ หมด จะสละแต่เพียงบางสว่ น หรือโดยมีเงือ ่ นไข เงือ
่ น
เวลาไม่ได ้ และไม่สามารถถอนการสละมรดกได ้
4) มาตรา 1614 การสละมรดกซงึ่ เป็ นการทำให ้เจ ้าหนีเ้ สย ี เปรียบ (ดูเปรียบเทียบการเพิกถอนการฉ ้อฉล
มาตรา 237)
5) มาตรา 1615 การสละมรดกมีผลตัง้ แต่เจ ้ามรดกตาย
6) มาตรา 1617 ผลของการทีผ ่ ู ้รับพินัยกรรมสละมรดก
7) มาตรา 1619 ผู ้ใดจะสละ จำหน่าย จ่าย โอน ซงึ่ สท ิ ธิอนั จะมีในภายหน ้า (= สละมรดก) ในการสบ ื มรดกผู ้ที่
มีชวี ต
ิ อยูไ่ ม่ได ้

ถ ้าเป็ นเรือ
่ งการสละมรดกโดยทายาทโดยธรรม ผลคือ มีการสบ ื มรดกกันได ้ (คนละอย่างกับการรับมรดก
แทนที)่ แต่ถ ้าเป็ นเรือ
่ งทีผ ื มรดกกันได ้
่ ู ้รับพินัยกรรมสละมรดก ไม่สามารถมีการสบ

เรือ
่ งที่ 4 พินัยกรรม (หน่วยที่ 12) มีมาตราทีค ่ วรให ้ความสนใจดังนี้
1. มาตรา 1646 + 1647 ผลบังคับของการทำพินัยกรรม และการแสดงเจตนากำหนดเผือ ่ ตาย
2. มาตรา 1651 ประเภทของผู ้รับพินัยกรรมมี 2 ประเภท คือ ผู ้รับพินัยกรรมลักษณะทั่วไป และผู ้รับพินัยกรรม
ลักษณะเฉพาะ
3. มาตรา 1653 ผู ้เขียน พยาน และคูส ่ มรสของผู ้เขียนหรือพยาน (ไม่รวมบุตร) จะเป็ นผู ้รับทรัพย์ตาม
พินัยกรรมนัน ้ ไม่ได ้ ฝ่ าฝื นเป็ นโมฆะ ตามมาตรา 1705
4. มาตรา 1654 การพิจารณาความสามารถของผู ้ทำพินัยกรรม และผู ้รับพินัยกรรม
5. มาตรา 1656 พินัยกรรมแบบธรรมดา สำคัญมากๆๆๆๆๆๆๆๆๆ ดูองค์ประกอบสำคัญ 4 ข ้อ
6. มาตรา 1657 พินัยกรรมแบบเขียนเอง
7. มาตรา 1658 พินัยกรรมแบบเอกสารฝ่ ายเมือง
8. มาตรา 1660 พินัยกรรมแบบเอกสารลับ
9. มาตรา 1663 กรณีทอ ี่ าจทำพินัยกรรมด ้วยวาจาได ้ + มาตรา 1664 การสน ิ้ ผลของพินัยกรรมทีทำ
่ ด ้วยวาจา
10. มาตรา 1665 กรณีลงลายพิมพ์นวิ้ มือแทนการลงลายมือชอตามมาตรา 1656, 1658, 1660่ ื
11. มาตรา 1666 พยานในการทำพินัยกรรมตามมาตรา 1656, 1658, 1660 ไม่สามารถใชลายพิ ้ มพ์นวิ้ มือตาม
มาตรา 9 วรรค 2 ได ้
12. มาตรา 1670 บุคคลทีเ่ ป็ นพยานในการทำพินัยกรรมไม่ได ้ สำคัญมากๆๆๆๆๆๆ มี 3 ประเภท
13. มาตรา 1673 สท ิ ธิและหน ้าทีท ่ เี่ กิดขึน
้ ตามพินัยกรรม
14. มาตรา 1674 ข ้อกำหนดพินัยกรรมมีเงือ ่ นไข
15. มาตรา 1681 กรณีได ้ทรัพย์สน ิ อืน่ มาแทนทรัพย์สน ิ ซงึ่ เป็ นวัตถุแห่งพินัยกรรม
16. มาตรา 1682 ผลของพินัยกรรมทีทำ ่ ขึน้ เพือ
่ ปลดหนี้ หรือโอนสท ิ ธิเรียกร ้อง

เรือ
่ งที่ 5 การเสย ี เปล่าไปซงึ่ พินัยกรรม (หน่วยที่ 13) มีมาตราทีค ่ วรให ้ความสนใจดังนี้
1. มาตรา 1693 สท ิ ธิในการเพิกถอนพินัยกรรม
2. มาตรา 1694 ความสมบูรณ์ของการเพิกถอนพินัยกรรม (ฉบับแรก/ ฉบับหลัง)
3. มาตรา 1695 วิธก ี ารเพิกถอนพินัยกรรม
4. มาตรา 1696 ผู ้ทำพินัยกรรมโอนทรัพย์สน ิ ซงึ่ เป็ นวัตถุแห่งข ้อกำหนดพินัยกรรม
5. มาตรา 1697 กรณีพน ิ ัยกรรมฉบับก่อนกับฉบับหลังขัดกัน
6. มาตรา 1698 กรณีข ้อกำหนดพินัยกรรมนัน ้ ตกไป มี 4 กรณี
7. มาตรา 1699 กรณีพน ิ ัยกรรมหรือข ้อกำหนดเกีย ่ วกับทรัพย์สน ิ สน ิ้ ผล ความหมายคล ้ายกับมาตรา 1620
สามารถยกขึน ้ อ ้างด ้วยกันได ้
8. มาตรา 1703 ผลของพินัยกรรมซงึ่ บุคคลอายุไม่ครบ 15 ปี ทำขึน ้ เป็ นโมฆะ ดูคไู่ ปกับมาตรา 25
9. มาตรา 1704 ผลของพินัยกรรมซงึ่ คนไร ้ความสามารถทำขึน ้ เป็ นโมฆะ เปรียบเทียบกับคนวิกลจริตตามวรรค
2
10. มาตรา 1705 กรณีททำ ี่ ให ้พินัยกรรมเป็ นโมฆะ ในเรือ ่ งพยาน และแบบของการทำพินัยกรรม สำคัญมากๆ
ๆๆๆๆๆๆๆ
11. มาตรา 1706 กรณีข ้อกำหนดของพินัยกรรมเป็ นโมฆะ
12. มาตรา 1707 ข ้อกำหนดมีเงือ ่ นไขให ้ผู ้รับพินัยกรรมจำหน่ายทรัพย์สน ิ มรดกแก่บค ุ คลอืน
่ ถือว่าเงือ
่ นไข
นัน
้ เป็ นอันไม่มเี ลย
13. มาตรา 1708 พินัยกรรมทีทำ ่ ขึน ้ เพราะเหตุถก ู ข่มขู่
14. มาตรา 1709 พินัยกรรมทีทำ
่ ขึน
้ เพราะเหตุสำคัญผิด หรือถูกกลฉ ้อฉล
15. มาตรา 1710 อายุความฟ้ องขอให ้เพิกถอนข ้อกำหนดพินัยกรรม

ข ้อแนะนำในการศก ึ ษาและการตอบข ้อสอบอัตนั ยกฎหมายแพ่ง 3


1. ธรรมชาติของวิชานีม ้ มี าตราจำนวนมากอยูแ ่ ล ้ว แต่ละมาตรามีความเชอ ื่ มโยงกันอย่างมาก จึงไม่สามารถที่
จะเก็งหรือบอกให ้ชช ี้ ด
ั ลงไปได ้ว่ามาตราใดควรจะนำมาออกข ้อสอบ (ไม่สามารถตัดลงให ้น ้อยกว่านี้ได ้อีก
แล ้ว) ทำความเข ้าใจทีล ่ ะเรือ ่ ง เริม
่ ตัง้ แต่เรือ
่ งการหมัน ้ การสมรส การส น ิ้ สุดการสมรส บิดามารดา ความเป็ น
บุตรชอบด ้วยกฎหมาย มรดก และพินัยกรรม ทุกเรือ ่ งมีความเชอ ื่ มโยงเกีย ่ วกันหมด อย่าพยายามอ่านหนังสอ ื
โดยท่องมาตราเน ้นเพราะจะไม่เกิดความเข ้าใจเลย ค่อยๆอ่านตามเอกสารการสอนไปเรือ ่ ยๆ ก็จะเข ้าใจเอง
เนือ่ งจากวิชานีเ้ ป็ นวิชาทีส ่ นุกมาก เนือ ่ งจากเกีย ่ วข ้องกับชวี ติ ประจำวันของเราโดยตรง
2. อัตนัย 2 ข ้อแรกเป็ นเรือ ่ งครอบครัว สว่ นข ้อ 3 เป็ นเรือ ่ งมรดกและพินัยกรรมซงึ่ ต ้องใชความรู ้ ้เรือ
่ งครอบครัว
มาตอบด ้วย ข ้อหนึง่ ตอบไม่ต่ำกว่า 4-5 มาตรา ดังนัน ้ ถ ้ายกหลักกฎหมายไม่ครบก็จะเสย ี คะแนนไปได ้มาก

ประเด็นคำถามแต่ละข ้อไม่เคยมีประเด็นเดียว สวนใหญ่จะถาม 3-4 ประเด็นขึน ้
้ ไปทัง้ สน ิ
3. ใกล ้สอบพยายามทบทวนตัวบทให ้มากตามกลุม ่ มาตราทีใ่ ห ้ไว ้ด ้านบน เช อ ื่ ว่าน่าจะสอบผ่านได ้ครับ

Das könnte Ihnen auch gefallen