Sie sind auf Seite 1von 8

ตัวอย่าง ระเบียบกองทุนหลัก

:
ประกันสุขภาพในระดับท้องถิน

องค์การบริหารส่วนตำาบล/
เทศบาล.................จังหวัด.......

ตามที่ตำาบล.../เทศบาล....ร่วมกับสำานักงานหลัก
ประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)ได้จัดตั้งกองทุนหลักประกัน
สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ขึ้น เพื่อให้การบริหารและการ
ใช้จ่ายงบประมาณของกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้อง
ถิ่นหรือพื้นที่เป็ นไปด้วยความโปร่งใส มีประสิทธิภาพและ
บรรลุตามวัตถุประสงค์ตลอดจนมีระบบรองรับการดำาเนิ นงาน
คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้อง
ถิ่น................ จึงออกระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้ เรียกว่าระเบียบกองทุนหลัก
ประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่ น
ข้อ 2 ระเบียบนี้ ใช้บังคับตั้งแต่วันประกาศเป็ นต้นไป
ข้อ 3 ให้ประธานคณะกรรมการบริหารกองทุน
หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นรักษาการ
ให้เป็ นไปตาม ระเบียบนี้
ข้อ 4 ที่ต้ัง...........ณ.........

หมวดที่ 1
วัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพในท้องถิ่น

ข้อ 5 เพื่อสนับสนุนการจัดบริการของหน่ วยบริการ


สาธารณสุขในการสร้างเสริมสุขภาพป้ องกัน
โรค ฟื้ นฟูสภาพและให้การสนับสนุนกิจกรรม

(1)
การรักษาพยาบาลระดับปฐมภูมิ สำาหรับ
ประชาชนโดยเฉพาะผู้ด้อยโอกาสในตำาบล.../
เทศบาลได้เข้าถึงการบริการได้โดยง่าย สะดวก
รวดเร็ว และมีคณ
ุ ภาพมาตรฐาน
ข้อ 6 เพื่ อส่ งเสริ มให้ กลุ่ มเป้ าหมายแม่ และเด็ ก, ผู้
สู งอายุ , ผู้ พิ การ, กลุ่ ม ผู้ ประกอบอาชีพ
เสี่ยง และผู้ป่วยเรื้อรังในชุมชนสามารถเข้าถึง
บริการทางการแพทย์อย่างทั่วถึงและมี
ประสิทธิภาพ
ข้อ 7 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมใน
การสร้างเสริมสุขภาพด้วยตนเองและร่วม
บริหารจัดการระบบหลักประกันสุขภาพในระดับ
ท้องถิ่นหรือพื้นที่
ข้อ 8 เพื่อให้ประชาชนในท้องถิ่นมีคุณภาพชีวิตที่
ดีขึ้น
ข้อ 9 ........................................................

หมวดที่ 2
สมาชิกกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับ อบต.หรือ
เทศบาล

ข้อ 10 สมาชิกกองทุนฯ ต้องมีคณ


ุ สมบัติดังต่อไป
นี้

(2)
1. มีภูมิลำาเนาและมีช่ ือในทะเบียนบ้านตาม
กฎหมายว่าด้วยการทะเบียน ราษฎรใน
ตำาบล / เทศบาล
2. เป็ นผู้พร้อมที่จะปฏิบัติตามระเบียบกองทุน
หลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น

หมวดที่ 3
คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับ
ท้องถิน

ข้อ 11 คณะกรรมการบริหารระบบหลักประกัน
สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ ประกอบด้วย
1. นายก อบต.หรือนายกเทศมนตรี เป็ น
ประธานกรรมการ
2. ผู้ทรงคุณวุฒิในพื้นที่ ที่ผ่านการคัด
เลือกจากคณะกรรมการ จำานวน 2 ท่าน
เป็ น รองประธานกรรมการคนที่ 1 และ
2
3. สมาชิก อบต.หรือสภาเทศบาลทีส
่ ภา
มอบหมาย จำานวน 2 คนเป็ นกรรมการ
4. หัวหน้าหน่ วยบริการปฐมภูมิในพื้นที่
(ตามจำานวนหน่ วย
บริการ) เป็ นกรรมการ
5. ผู้แทน อสม. ที่คัดเลือกกันเอง จำานวน
2 คน เป็ นกรรมการ

(3)
6. ผู้แทนหมู่บ้านที่ประชาชนในหมู่บ้าน
หรือชุมชนคัดเลือกกันเอง จำานวน 5
คน เป็ นกรรมการ (กรณีเทศบาลเป็ น
ชุมชน)
7. ผู้แทนศูนย์ประสานงานหลักประกัน
สุขภาพภาคประชาชน หรือศูนย์รับเรื่อง
ร้องเรียนอิสระในพื้นที่ จำานวน 1 คน
(ถ้ามี)เป็ นกรรมการ
8. ปลัด อบต./ปลัดเทศบาล หรือเจ้า
หน้าที่ท่ีนายกองค์การบริหารส่วนตำาบล
หรือนายกเทศมนตรีมอบหมายเป็ น
กรรมการและเลขานุการ
ข้ อ 12 คณะกรรมการบริ ห ารระบบหลั ก ประกั น
สุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่มีอำานาจหน้าที่
ดังต่อไปนี้
1. จัดทำาข้อมูลและแผนดำาเนิ นที่เกี่ยวกับ
ปั ญหาสาธารณสุข กลุ่มเป้ าหมายและ
หน่ วยบริการต่างๆที่เกี่ยวข้อง
2. ดำาเนิ นการให้ประชาชนกลุ่มเป้ าหมาย
ต่างๆ ในความรับผิดชอบสามารถเข้า
ถึงบริการสาธารณสุขทั้งที่บ้าน ใน
ชุมชน หรือหน่ วยบริการได้อย่างทั่วถึง
และมีประสิทธิภาพ
3. บริหารจัดการระบบหลักประกัน
สุขภาพให้มีประสิทธิภาพ โปร่งใสและ
จัดทำาสรุปผลการดำาเนิ นงานหรืองบดุล
เมื่อสิน
้ ปี งบประมาณเพื่อนำาเสนอ
สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
และองค์การบริหารส่วนตำาบลหรือ
เทศบาลภายในเดือนธันวาคมของทุกปี

(4)
4. รับผิดชอบการเงิน การจ่ายเงิน การ
เก็บรักษาเงินและการจัดทำาบัญชีเงิน
หรือทรัพย์สินในระบบหลักประกัน
สุขภาพ ให้เป็ นไปตามรูปแบบที่
สำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
กำาหนด
5. จัดตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะ
ทำางานเพื่อดำาเนิ นการตามความจำาเป็ น
ข้อ 13 คณะกรรมการบริหารกองทุนหลักประกัน
สุขภาพในระดับท้องถิน
่ ทีม
่ วี าระอย่ใู นตำาแหน่ง
คราวละ 2 ปี
เมื่อคณะกรรมการอยู่ในตำาแหน่ งครบ
วาระ 2 ปี แล้วยังมิได้มีการแต่งตั้งคณะ
กรรมการใหม่ ให้คณะกรรมการที่ครบวาระอยู่
ในตำาแหน่ งเพื่อดำาเนินการต่อไปจนกว่าคณะ
กรรมการซึง่ ได้รบั การแต่งตัง้ ใหม่เข้ารับหน้าที่
กรณีกรรมการตามข้อ 11 (2) - (5) พ้น
จากตำาแหน่ งก่อนครบวาระให้มีการคัดเลือกผู้
แทนเป็ นกรรมการในตำาแหน่ งที่ว่างให้มีวาระ
การดำารงตำาแหน่ งเท่ากับวาระที่เหลือของ
กรรมการที่พ้นจากตำาแหน่ ง
ข้อ 14 นอกจากการพ้นตำาแหน่ งโดยวาระแล้ว
กรรมการตามข้อ 11 (2)-(5)พ้นจากตำาแหน่ งใน
กรณีต่อไปนี้
1. ตาย
2. ลาออก
3. โดยคำาพิพากษาถึงที่สุดให้รับโทษจำา
คุก เว้นแต่โทษสำาหรับ ความผิดที่ได้
ประกันมาหรือความผิดลหุโทษ

(5)
4. เป็ นคนไร้ความสามารถ หรือเสมือน
ไร้ความสามารถ
5. เป็ นบุคคลล้มละลาย
6. ขาดคุณสมบัติการเป็ นกรรมการตาม
ข้อ (2) - (5)
7. โดยคำาสั่งสำานักงานหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ

ข้อ 15 เมื่อคณะกรรมการพ้นจากตำาแหน่ งตาม


วาระ หรือเหตุผลอื่นๆ ให้
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ดำาเนิ นการคัดเลือกตาม
หลักเกณฑ์ท่ีกำาหนด ส่งรายชื่อให้สำานักงานหลัก
ประกันสุขภาพแห่งชาติ ออกคำาสั่งแต่งตั้งภายใน.......
วัน

หมวดที่ 4
ทีม
่ าของเงินกองทุนหลักประกันสุขภาพฯ

ข้อ 15 เงินกองทุนหลักประกันสุขภาพมีท่ีมา ดังนี้


1. เงินค่าบริการสาธารณสุขที่ได้จด
ั สรร
จากสำานักงานหลักประกันสุขภาพแห่ง
ชาติ
2. เงินงบประมาณอุดหนุนสมทบตาม
สัดส่วนจาก อบต..../เทศบาล
3. เงินบริจาคสมทบจากชุมชน/องค์กร
ชุมชน
4. รายได้ และทรัพย์สน
ิ ที่เกิดจากกิจการ
กองทุน

(6)
ข้อ 16 การใช้ จ่ า ยเงิ น กองทุ น เป็ นไปเพื่ อการ
ดำาเนิ นงานและบริหารระบบหลักประกันสุขภาพ
ใ น 4 ลั ก ษ ณ ะ
1. สนับสนุนงบประมาณเพื่อการพัฒนา
หน่ วยบริการสาธารณสุขในชุมชนท้อง
ถิ่น
2. จัดซื้อบริการสุขภาพตามชุดสิทธิ
ประโยชน์ให้แก่สมาชิกกองทุน
3. สนับสนุนกิจกรรมการสร้างเสริมสุข
ภาพโดยภาคประชาชน
4. ใช้จ่ายในด้านการบริหารงานทั่วไป
ของกองทุน
ข้อ 17 อำานาจการอนุมัติงบประมาณกองทุน
1. ในกรณีท่ีวงเงินไม่เกิน 20,000 บาทให้
เป็ นอำานาจของประธานคณะกรรมการ
สามารถอนุมต ั ิได้ โดยต้องนำาเข้าแจ้ง
คณะกรรมการในการประชุมครั้งต่อไป
2. ในกรณีท่ีวงเงินเกิน 20,000 บาท ใน
อนุมัตโิ ดยมติของที่ประชุมคณะ
กรรมการ
ข้อ 18 ประกาศให้ใช้บังคับตั้งแต่บัดนี้ เป็ นต้นไป

ประกาศ ณ วัน
ที่.................................................

( )

ประธานคณะกรรมการบริหารกองทุน
หลักประกันสุขภาพ

(7)
ในระดับท้องถิ่น ............................................

หมายเหตุ
(ในการการทำาระเบียบ กองทุนฯ สามารถเพิม ่ เติมหรือ
ปรับปรุงใหม่เหมาะสมได้ แต่ทัง ้ นี้ ต้องเป็ นไปตามหลัก
การและวัตถุประสงค์ของกองทุนหลักประกันสุขภาพใน
ระดับท้องถิน
่ ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกัน
สุขภาพแห่งชาติ เรื่อง การกำาหนดหลักเกณฑ์เพื่อ
สนับสนุนให้องค์การบริหารส่วนตำาบลหรือเทศบาลดำา
เนิ นกการ พ.ศ. 2552 และค่่มือฯกองทุน)

(8)

Das könnte Ihnen auch gefallen