Sie sind auf Seite 1von 16

บทที่ 3

การใชงานโปรแกรม ArcView

บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

3.1 ARCVIEW คืออะไร


ArcView เปนโปรแกรม GIS โปรแกรมหนึ่ง ที่พัฒนาโดย บริษัท Enviromental Systems Research
Institute Inc. (ESRI) เพื่อใชงานในการนําเสนอขอมูล และเรียกคนขอมูล จากโปแกรม Arc/Info หรือ
โปรแกรมอื่นๆ ที่สามารถใชงานไดงายและมีประสิทธิภาพ เนื่องจากการทํางานบนระบบปฏิบัติการของ
Windows System (Window98 or Windows95) ซึ่งมีเมนูตางๆ แสดงบนหนาจอ และสามารถเปดไดหลายๆ
หนาตาง (Windows) ในระหวางการทํางาน

3.2 ARCVIEW ทําอะไรไดบาง


• PC ArcView GIS เปนโปรแกรมที่ในการประมวลผลทางดานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร เชนการ
ทําแผนที่ ทํางานบน Desktop ที่เปนที่นิยมมากที่สุด เนื่องจากความสะดวกในการใชงาน ดวยความ
สามารถ ทางดานการทําแผนที่และวิเคราะหเชิงพื้นที่
• ดวย ArcView GIS เราสามารถสรางแผนที่ แสดงขอมูลไดอยางสะดวกงายดาย โดยอาศัยขอมูลจาก
แหลงขอมูลที่มีอยู เชน Coverage หรือ Shape File หรือ Image file ในรูปแบบ Graphic ตางๆ เชน
AutoCAD file)
• ArcView GIS ทําใหเปนการงายที่จะสรางแผนที่และใสขอมูลของเราลงไป
• ArcView GIS คุณสามารถดึงขอมูลจากฐานขอมูลที่มีอยู และแสดง บนแผนที่ได
• ArcView GIS สามารถรวบรวมฐานขอมูลที่เรามีอยู และใหทํางานกับขอมูลเชิงภูมิศาสตรได
• ArcView GIS ชวยใหการพิมพและสราง แผนที่กอนพิมพทําไดงายดวย Layout
• การแสดงในรูปแบบโตตอบโดยการ link ไปที่แผนภูมิ, ตาราง, ภาพวาด, ภาพถาย, และ file อื่นๆ
• ภาษา Avenue ซึ่งเปน ภาษาทํา script ในเชิง object-oriented ที่ฝงอยูใน ArcView GIS ทําใหเรา
สามารถพัฒนาเครื่องมือ, การติดตอ interfaces, และโปรแกรมประยุกตที่สมบรูณไ ดอยางรวดเร็ว

คูมือการใชระบบ 3-1 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

3.3 รูจักกับสวนติดตอกับผูใชของ ARCVIEW


ผูใชสามารถใชงานนําเสนอ และเรียกคนขอมูลตามเงื่อนไขตางๆ แลว ยังสามารถใชในการผลิตแผนที่
ไดเปนอยางดี จะสรางและแกไขขอมูล ทั้งที่เปนพื้นที่ (Spatial Data) และตารางฐานขอมูล (Database) ได
ดวย และยังสามารถรับขอมูลที่จัดเก็บในรูปแบบตางๆ เชน AutoCAD (.dwg), Image (.tiff, .bmp, etc.) และ
สามารถใชในการวิเคราะหขอมูลเชิงพื้นที่ (Spatial Analysis) ไดดวย โดยการเขียนชุดคําสั่ง (Scripts) หรือ
ใชโปรแกรมประยุกต (ชุดคําสั่งสําเร็จรูป) ที่ไดจัดเขียนไวโดยผูเชี่ยวชาญ

สวนประกอบหลักๆ ของหนาตาง ArcView จะประกอบไปดวย

• หนาตาง (Windows) ซึ่งประกอบดวย 5 หนาตาง คือ Project Window, View Window, Table
Window, Chart Window, Layout Window และ Scripts Window
• เมนู (Pull down Menus) จะเปลี่ยนแปลงไปตามการทํางานของหนาตางทั้ง 5 ชนิด
• เครื่องมือ (Toolbars) จะเปลี่ยนแปลงไปตามการทํางานของหนาตางทั้ง 5 ชนิด
ไอคอน (Icon) ซึ่งอยูภายใต Project Window ประกอบไปดวย View icon, Table icon, Chart
icon, Layout icon และ Scripts icon

{
Graphical Menu Bar
User Button Bar
Interface
(GUI) Tool Bar

Project
Window

Document
Windows

รูปที่ 3.1 แสดง ArcView Interface

คูมือการใชระบบ 3-2 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

3.4 ARCVIEW DOCUMENTS


การแสดงขอมูลแตละประเภทแสดงสามารถเปดแสดงแบบแยกหนาตางได ซึ่งจะเรียกวา Document
window แสดงไดดังรูป

• Views Display themes


• Tables Display tabular data
• Charts Display a graphical representation of tabular data
• Layouts Allow you to create printable maps
• Scripts Create and compile Avenue code

3.5 ARCVIEW PROJECTS

เมื่อเริ่มทํางานกับโปรแกรม Arcview ตองทําการเลือกที่ Start up --> programs --> ESRI---> Arcview


GIS 3.X --> Arcview GIS 3.X หรือ double-click ที่ ไอคอน

เมื่อเปดโปรแกรมแลวหนาจอจะปรากฎกลองขอความถามถึงการจัดการ Projectในกรณีที่สราง Project


ใหม สามารถเลือกได

คูมือการใชระบบ 3-3 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

• With a new View จะเรียก View windowให


• as a blank project จะไมเรียก View window ให
• Open an existing project จะเรียกขอมูลเกาที่เก็บไว
• Show this window when ArcView GIS Starts

เปนการเลือกใหแสดง Dialog นี้หรือไมเมื่อเปดโปรแกรม ArcView ขึ้นมา ถาตองการใหมีเครื่องหมาย


ถูกไวขางหนา

1. Project Window

Project คือ แฟมขอมูลที่ ArcView สรางขึ้นมาเพื่อใชในการจัดการระบบการทํางานทั้งหมด ใน


Project หนึ่งๆ ซึ่งจะรวมองคประกอบทั้งหมดใหอยูในแฟมขอมูลเดียวกัน แต Project file ที่มนี ามสกุล
เปน .apr (จุด-A-P-R) ซึ่ง แฟมขอมูลดังกลาวจะไมมีขอมูลพื้นที่ และตารางฐานขอมูล แตจะใชในการ
เรียกคนขอมูลจากแหลงตางๆ ใน Project หนึ่งๆ จะประกอบดวยหนาตางยอย หรือองคประกอบหลัก
5 หนาตาง คือ Project Window, View Window, Table Window, Chart Window, Layout Window และ
Scripts ดังภาพที่ 1 แต Arcview จะทํางานครั้งละ 1 Project เทานั้น หากตองการดูรายละเอียดใน
Project อื่น ตองปด Project ที่กําลังทํางานอยูกอน และบน Menu Bar และ Button Bar จะมีคําสั่งหรือ
กลุมคําสั่งสําหรับการจัดการในเรื่องของ Project ทั้งสิ้น เชน มีเมนู File (จัดการแฟมขอมูล project),
Project (จัดการเกี่ยวกับคุณสมบัติใน project windows), Window (จัดการเกี่ยวกับการวางตัวของหนา
ตางแสดงผล) และ Help (เมนูสําหรับขอความชวยเหลือ) ซึ่งขึ้นอยูกับวาขณะนั้นเรากําลังเลือก Project
Window ให Active หรือกําลังถูกเลือกใชงานอยู ใน window ทั่วไปจะแสดงในลักษณะเปนกรอบสีน้ํา
เงินที่ Title bar นั่นเอง

คูมือการใชระบบ 3-4 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

เลือกเมนูของ Project Window ในคําสั่งเมนู File ดังนี้

1) การสรางแฟมฐานขอมูลที่ทํางาน (New Project) ในการสราง Project ใหม สามารถทําไดโดยเลือก


เมนู File --> New Project บนเมนูบาร เชนเดียวกับการเปดขอมูลที่มีอยูแลว

2) การเปดแฟมฐานขอมูลที่มีอยูแลว (Existed Project) ในการเปดแฟมขอมูล Project ที่เคยทํางาน


ไวอยูแลวทําไดโดยเลือกที่เมนู Fileเ Open Project… แลวเลือกแฟม Project ที่ตองการใชงานได

3) การบันทึกแฟมฐานขอมูลที่ทํางาน (Save Project) เปนการบันทึกแบบโครงการที่ทํางานเก็บไว


ในฐานขอมูล เพื่อใหสามารถเรียกใชไดในครั้งตอไป ในการทํางานอาจจะบันทึกกอนหรือหลังการ
ทํางานก็ได แตในบทนี้จะแนะนําใหบันทึกไวกอนถารูวาเราตองการเก็บขอมูลอะไรไว เชน ถา
ตองการเก็บขอมูลจังหวัดปทุมธานี อาจบันทึกเปนแฟมโครงการชื่อ Pathumtani.apr ซึ่งแฟมโครง
การจะมีสกุล .apr (ArcView Project) โดยที่โปรแกรม PC Arcview จะทํางานครั้งละ 1 Project เทา
นั้น หากตองการดูรายละเอียดใน Project อื่น ตองปด Project ที่กําลังทํางานอยูกอน ฉะนั้นผูที่
ทํางานจะตองเขาใจถึงขอจํากัดในการทํางานนี้
** ใหเลือก Project Windows ให Active กอน เพื่อเปนการเปลี่ยนเมนูที่ตองการใชงาน
**กดปุม หรือ เลือกเมนู File เ Save Project As… เลือก Directory ที่ตองการ
** ตั้งชื่อแฟมขอมูล แลวกดปุม OK ถือวาเสร็จสิ้นการบันทึก

คูมือการใชระบบ 3-5 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

4) การเปลี่ยนคุณสมบัติของ Project (Project Properties) ในการจัดการขอมูลตางๆ ใน Project


Window เราสามารถเขาไปจัดการไดจากเมนู Project ที่เห็นดังภาพ

ซึ่งสามารถเปลี่ยนคุณสมบัติภายใน Project ที่ทํางาน หรือเกี่ยวของกับคุณสมบัติของ icon ตางๆ บน Project


Window
**Properties… เปนการเปลี่ยนคุณสมบัติของ Project เชนเปลี่ยนชื่อผูจัดทํา และตั้งคา script ในการเปด
และปดแฟมขอมูลได หรือการตั้งคาสีของตัวเลือกได
**Customize… เปนการตั้งคาเมนู Button หรือ Tools bare หรือเราสามารถสรางเมนูได โดยสามารถเชื่อม
ความสัมพันธกับ script หรือ Avenue ที่เขียนขึ้นได
**Rename… ใชสําหรับการเปลี่ยนชื่อของ objects (view, table, chart และ script) ที่ถูกเลือกใหทํางานอยู
ตามที่ผูใชโปรแกรมตองการ
**Delete… ใชสําหรับการลบ objects (view, table, chart และ script) ที่ถูกเลือกให Active
**Add Table… เปนเมนูที่ใชในการนําเขา Table (Dbase, Info, Delimited Text) เขาสูฐานขอมูล
**Import… เปนการนําเขา ArcView Project (*.apr) อื่นๆ หรือ ArcView version 1.0 กอนหนานี้
**SQL Connect… เปนการนําเขาฐานขอมูล Table จากโปรแกรมประยุกตอื่นๆ เชน (MS Excel, MS
Access, dBase, Foxpro หรืออื่นๆ) หลังจากที่พอเขาใจในการควบคุมการทํางานของ Project window มาบาง
แลวในขั้นตอไปเราจะตองทําความรูจัก View window ซึ่งเปนหัวใจที่สําคัญของโปรแกรม PC ArcView ตัว
หนึ่งเพราะจะใชในการแสดงผลแผนที่หรือขอมูลเชิงแผนที่ (Spatial Data)

คูมือการใชระบบ 3-6 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

3.6 VIEWS และ THEMES


เปดหนา View document เพื่อทํางาน Project

Select
Views /
New

Each View
Contains a
Table of
Contents
which lists
all themes
in that view

Theme เปนการกําหนดขอมูลที่ตองการแสดงบนหนา View เลือก เมนูบาร View เลือก add Theme


โดยกําหนดชนิดขอมูลที่ตองการจะวาเปนขอมูลประเภทใด

ชนิดของขอมูล
โปรแกรม ArcView รองรับขอมูลเชิงตําแหนง (Spatial data) สองลักษณะ คือ Vector Data และ
Raster Data โดยเรียกขอมูลในกลุม Vector Data วา Feature Data Source และขอมูลในกลุม Raster Data วา
Image Data Source แสดงดังรูป

คูมือการใชระบบ 3-7 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

Feature Data Sources:


• ArcView Shapefiles
• Arc/Info Coverages (point,line,polygon)
Image Data Sources:
• Proprietary Image Formats (ERDAS,etc.)
• Binary Image Files (.bil,.bsq,.bip,etc.)
• Graphic Image Files (.jpg and .bmp)
Grid Data Sources:
• Gridded Geographic Data (spatial analyst)

สําหรับวิธีการทํางานกับ Theme ไดนําเสนอไวในบทที่ 4


3.7 ตาราง (TABLES)

การเปดตารางฐานขอมูลของ Theme ทําโดย เลือก Theme นั้นให Active แลว Click ที่ ปุมOpen theme
table หรือ เลือกที่เมนู Theme แลวเลือก Table แลวจะไดตารางดังภาพที่แสดง

ขอสังเกต : ตารางหลักที่เปดขึ้นมาจาก Theme ที่ Active อยูจะมีชื่อ "Attributes of " นําหนาชื่อ Theme นั้น
เสมอ (เปนคา default ของโปรแกรม)

รูปที่ 3.4 แสดงตารางฐานขอมูล

คูมือการใชระบบ 3-8 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

ขอมูลที่ตองการปรับปรุง หรือเพิ่มเติมผูใชตองทํางานประกอบกับโครงสรางฐานขอมูลที่ไดออก
แบบไวแลวเลือกทําการปรับปรุงขอมูลใน Field ที่สนใจ และถาตองการเพิ่ม Field ขอมูลอื่น ๆ ก็
สามารถทําได โดย ตองไมทาํ การแกไขหรือลบ Field เกาไวเพราะจะมีผลตอการนําเสนอผาน Website :
ซึ่งผูดูแลระบบตองทําการตรวจสอบขอมูลทุกครั้งกอนนําไปทําการเผยแพรขอมูล
ในการแสดงผลขอมูลแผนที่บางครั้งมีความจําเปนที่จะตองแสดงผลโดยอาศัยขอมูลเสริม เชน คํา
อธิบายแผนที่แสดงขอบเขตการปกครองสวนภูมิภาค โดยแสดงเปนชื่อภาษาไทย หรืออังกฤษ ดังนั้นจํา
เปนจะตองจัดหา หรือสรางตารางเสริมขึ้นมาเพื่อเพิ่มรายละเอียดของขอมูลแผนที่ ใหสามารถอธิบาย
ดวยภาพไดดีขึ้น

การสรางตารางใหม
ในกรณีที่ตองการสรางตารางฐานขอมูลใหมโดยใชโปรแกรม ArcView สามารถทําไดดังนี้
1) การคลิกเลือกที่ Table icon ใน Project Window แลว กดปุม New
2) ใหเลือกที่จัดเก็บขอมูล (directory) และใหตั้งชื่อแฟมขอมูล (File name) แลวกดปุม OK ก็จะปรากฎ
ตารางเปลาที่เตรียมสําหรับกรอกขอมูล
ในกรณีนี้ใหสรางชื่อ Table ขึ้นมาใหมเปน thaiutmdes.dbf เก็บไวที่ c:\avetemp\

เราจะไดตารางเปลาพรอมใชงานในการสรางฐานขอมูลเชิงบรรยาย (Attribute Data) ดังนี้

คูมือการใชระบบ 3-9 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

เมื่อปรากฎตารางเปลาขึ้นมา
ขั้นตอไปคือการกรอกขอมูลที่ตองการใสในตารางจะมีองคประกอบสําคัญในการจัดทํา Data
Definition คือ จะตองกําหนด
*ชื่อของ Field
*ชนิดของ Field ขอมูล
*ขนาดของ Field ขอมูล
*หากเปนขอมูลจํานวนตัวเลข ตองกําหนดทศนิยม
โดยในโปรแกรม PC ArcView สามารถดําเนินการไดดังนี้
3) ใหเลือกเมนู Edit --> Add field…
ก็จะปรากฎตารางใหกรอกขอมูล Data Definition ดังรูปขางลางและใหกรอก
กรอกรายละเอียด Data definition ใหครบ คือ
Region, Number, 1, 0
Description, String, 53
ไดดังรูป

คูมือการใชระบบ 3-10 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

ผลลัพธก็จะไดตารางที่ประกอบดวยชื่อ Field สองชุดดังรูป

4) เลือกเมนู Edit --> Add Record…หรือ Ctrl + A เพื่อเพิ่ม record ในฐานขอมูล สามารถเลือกเมนูซ้ําๆ
เพื่อเพิ่ม record ใน Table ตามจํานวนที่ตองการ
ใหเพิ่ม 5 Record แลวพิมพขอมูลเขาไปดังรายละเอียด

โดยฝกฝนการใชเครื่องมือสําหรับการกรอกขอมูลตอง click ไปที่ปุม Edit Tool


และถาตองการเลือก record ใดๆ ให click ไปที่ปุม Select Tool
เมื่อเสร็จกระบวนการใหเลือกไปที่เมนู Table--> Stop Editing ทุกครั้งที่มีการแกไขเสร็จ
คูมือการใชระบบ 3-11 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน
chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

( ถาจะทําการแกไขใหม ใหเลือกที่คําสั่ง Table--> Start Editing เพื่อเริ่มแกไขใหม )


ขอสังเกต เราจะเห็นวาตารางที่หยุดการแกไขแลวจะมีชื่อ Field เปนตัวอักษรเอียง (Italic)

ในการเชื่อมโยงตาราง เราจะตองเปดตารางขึ้นมาทั้งสองตาราง ในสวนตารางหลักและตารางเสริม


ในที่นี้ตารางหลักชื่อ Attributes of thaiutm.shp
และตารางเสริมชื่อ thaiutmdes.dbf ที่ไดสรางไวแลว
ให click ที่ key field ทั้งสองตารางให Active ขึ้นเปน สีเทาเขม ทั้งสองตาราง
แลวให click ให Table หรือตารางหลัก Active ดังรูป

กดเครื่องหมาย (join) หรือเลือกที่เมนู Table -->Join จะรวมตารางเสริมไวที่ตารางหลัก ที่ Active อยูดัง


รูป

คูมือการใชระบบ 3-12 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

ถาเราไปเลือก identify button ที่ View Windows แลวเลือกไปบน feature ใดๆ บน View ก็สามารถ
แสดงรายละเอียดของแตละพื้นที่ได

3.8 LAYOUTS

Layout คือ แผนที่ ที่ประกอบดวย ขอมูลตางๆ เชน ชั้นขอมูล (themes) บน view แผนภูมิ (chart) ตา
ราง (table) หรือสัญลักษณตางๆ ทั้งที่ทําโดย ArcView หรือ นําเขาจากแหลงขอมูลตางๆ ภาพที่ปรากฏบน
Layout จะเหมือนกับขอมูลที่แสดงบน View ซึ่งใน Layout หนึ่งอาจจะมีขอมูล หลาย View

การทํา Layout จาก view window


หลังจากที่ไดตกแตงภาพที่ตองการแสดง และเรียงตามลําดับกอนหลัง ตามหลักเกณฑของการทําแผนที่ คือ
คําบรรยาย จุด เสน และพื้นที่ และบริเวณที่ตองการแสดงผล (zoom-in หรือ zoom-out) ใหดําเนินการตาม
คูมือการใชระบบ 3-13 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน
chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

ขั้นตอน ดังนี้

1) ในกรณีที่ขอมูลยังจัดเก็บโดยใชระบบคาพิกัดเสนรุง เสนแวง ใหเปลี่ยนแปลงคาพิกัดเปน UTM โดยให


กดที่ view เลือก Properties แลว เลือก map units (ระยะบนแผนที่) เปน meters และ distance units (หนวย
ความยาวและหนวยที่ปรากฏที่มาตราสวน) เปน kilometers แลวเปลี่ยนระบบ projections ใหถูกตอง

2) กด view menu แลวเลือก layout หลังจากนั้นใหเลือกขนาดของแผนที่ และรูปแบบตามที่ตองการ

3) ในกรณีที่มี layout ของ project ที่ทํางานนี้อยูแลว เครื่องจะถามวาตองการสราง layout ใหมหรือไม หรือ


สรางทับ Layout เดิม หลังเลือกแลวกด OK ก็จะไดแผนที่ดังแสดงในภาพ

คูมือการใชระบบ 3-14 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

3.9 SCRIPT

Scripts เปนภาษาในโปรแกรม ArcView ที่ใชในการจัดการกับวัตถุ เรียกวา "Avenue" และคําสั่ง Avenue


นั้นจะชวยใหสามารถควบคุมวัตถุที่เราตองการโดยการรับหรือสงขอมูลไปยังวัตถุของ ArcView เชน
Project windows, View windows หรือ Layout windows เปนตน และ Avenue ชวยใหจัดการหนาจอ
ArcView ใหสามารถทํางานไดงายขึ้น หรือเหมาะสมกับที่เราตองการในการประยุกตใชงาน เราสามารถอาน
วิธีการใชงานไดใน Help เลือกหัวขอ Script ซึ่งในที่นี้จะไมกลาวถึงวิธีการใช Script แตขอยกตัวอยางการนํา
โปรแกรม avenue มาใช เชนตองการเปดแฟม Project ใหม

นอกจากนี้ Avenue สามารถที่จะเชื่อมตอกับการทํางานดวยโปรแกรม Visual Basic และ Visual Basic for


Application (VBA) ไดอีกดวย

3.10 การใชระบบ HELP ของ ARCVIEW


ในการทํางานบางครั้งหากตองการความชวยเหลือสามารถใช Help ของ Arcview ไดโดยเลือก
HELP --> Help Topics โปรแกรมจะแสดงหนาตาง Help Topics : Arcview Help เพื่อสอบถาม
ตามหมวดหมูที่ไดจัดไว

คูมือการใชระบบ 3-15 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน
บทที่ 3
การใชงานโปรแกรม ArcView

นอกจากนี้ยังสามารถใช Help ที่ Menu Bar เพื่อใหแสดงหนาตาง contents , index ,find


ที่ Button bar สามารถใช Help ไดที่ buttons, tools, menus

คูมือการใชระบบ 3-16 โครงการพัฒนาระบบสารสนเทศแหลงน้ําและระบบชลประทาน


chap3.doc การใชงานโปรแกรม ArcView กรมชลประทาน

Das könnte Ihnen auch gefallen