Sie sind auf Seite 1von 17

การสัมมนาแบบเข้มข้น

เรื่อง แนวคิดทางธุรกิจ

โดย
Sugiyama Management Development Ltd.
(SMD Thai)

1
แนวคิดเชิงธุรกิจ
 เป้าหมายของการสัมมนา
 ความสำาคัญของการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล
 การแก้ไขปัญหา
 การระบุปัญหา

2
เป้าหมายของการสัมมนา
เมือ่ ได้รบั การอบรมสัมมนาแล้ว ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะสามารถ
1) เข้าใจสถานการณ์อย่างเป็นเหตุเป็นผล
2) แสดงออกถึงความคิดเห็นของตนได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล
3) บ่งชี้และแสดงปัญหาอย่างเป็นเหตุเป็นผล
4) คิดหาวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล
5) สื่อสารความคิดเห็นของตนได้อย่างเป็นเหตุเป็นผล
ในสภาพแวดล้อมทางธุรกิจทั่วไป
Logical Thinking คือ วิธีการและหนทางในการคิดอย่างเป็นเหตุเป็นผล

3
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking

4
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking
•ภายนอก ทุกคนดูเหมือนจะเห็นด้วยในประเด็นเดียวกัน
ในขณะที่แท้จริงแล้วทุกคนต่างมีสิ่งที่คิดอยูแ่ ตกต่างกัน
•เรามักมิได้ใส่ใจสิ่งที่สำาคัญ แต่ก็สามารถรับมือกับปัญหาในแบบที่เราถนัดหรือคุ้นเคย ได้อย่างไม่รู้ตวั
•ดูเหมือนว่าขณะที่เรากำาลังทำาสิง่ เดียวกัน จุดประสงค์ของเรานั้นช่างแตกต่างกัน

หากยังมีสิ่งเหล่านี้อยู่ เราคงไม่สามารถบรรลุเป้าหมายหรือเอาใจใส่ติดตามกับประเด็นสำาคัญ ๆ
ได้ ในธุรกิจส่วนใหญ่
สามารถกล่าวได้ว่าใจความของงานจะได้รบั ความเห็นชอบจากบุคคลที่สามเพื่อรับประกันศักย
ภาพ ประสิทธิภาพ และการชวนเชื่อ ในการตัดสินใจก็เช่นกัน
เราควรเน้นที่แผนและความเป็นไปได้ มากกว่าจะวางใจในโอกาสในความสำาเร็จ

5
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking
ในเชิงธุรกิจ Logical Thinking
ถือเป็นรากฐานของการตัดสินใจในการพัฒนาและความสำาเร็จทั้งปวง

การติดต่อสื่อสาร
การโน้มน้าวจิตใจ
ความรู้ความเข้าใจ
การคิดคำานึง

6
1. ความสำาคัญของ Logical Thinking
ตัวอย่างที่ 1 นึกถึงสิ่งที่เกิดขึ้นในงานของคุณในปัจจุบัน
2) มีการติดต่อสื่อสารที่เกิดปัญหาความยุ่งยาก
3) การติดต่อประสานงานที่ยุ่งยากวุ่นวาย
4) ไม่มีใครเข้าใจคุณอย่างเหมาะสม
และนำามาแลกเปลี่ยนประสบการณ์และความคิดเห็น จากนั้นเลือกมา1
ตัวอย่างเพือ่ วิเคราะห์หาสาเหตุของปัญหา

7
2. การแก้ไขปัญหา

8
2. การแก้ไขปัญหา
1.โครงสร้างการแก้ไขปัญหา
เริม่ จากการวางโครงสร้างของตัวปัญหา
จากนั้นจึงวางโครงสร้างการแก้ไขเพื่อแก้ไขปัญหาที่ได้ระบุในกระบวนการก่อนหน้า
3. อะไร (ปัญหา) ⇒ อย่างไร (การแก้ไข)
อะไร ปัญหา ปัญหาที่ต้องการการแก้ไข

อย่างไร ทำาอย่างไร? ทำาอย่างไร?

ผลลัพธ์ การทำาให้เป็นรูปธรรม ผลลัพธ์


อย่างไร
ทำาอย่างไร? ทำาอย่างไร?

การแก้ไข การแก้ไข การแก้ไข การแก้ไข

9
ข้อควรพิจารณา
ความสำาคัญและลำาดับความสำาคัญ
บ่อยครั้งที่การแก้ไขปัญหาทันทีนั้นเป็นเรื่องที่เป็นไปไม่ได้ หรือไม่เหมาะสม ดังนั้น
การวัดลำาดับความสำาคัญและเรียงลำาดับความสำาคัญจึงจำาเป็นอย่างยิ่ง

ตัวอย่างการวัดลำาดับและเรียงลำาดับความสำาคัญ
ปัจจัย ผลต่อการปฏิบัติงา ความเร่งด่วน ผลต่อผลการทำางาน ความถี่
น รายปี
ปัญหา 1 สูง ตำ่า ตำ่า สูง

ปัญหา 2 ตำ่า สูง ตำ่า ปานกลาง

ปัญหา 3 ตำ่า สูง สูง ปานกลาง

10
Ⅱ. Problem Solving
Exercise:
Increasing the recognition of XXX Group is important in increasing the
revenue. Think about how the recognition could be increased.

Replace the exercise to


easier and more
understandable one

11
Ⅱ. Problem Solving
Exercise:
If the group companies of XXX Group can cooperate with each other to
create synergy effect, revenue and competitiveness could be improved.
Make proposal of how this could be achieved.

Replace the exercise to


easier and more
understandable one

12
2. แก้ไขปัญหา
แบบฝึกหัด: เลือกปัญหาในที่ทำางานของคุณ
แล้ววางโครงสร้างสาเหตุของปัญหา
และร่วมกันคิดหาหนทางการแก้ไข

13
3. ระบุปัญหา

14
3. ระบุปัญหา
1. ปัญหาคือ?
① ปัญหามิอาจมีขึ้นได้ด้วยตัวของมันเอง มันเกิดขึน
้ ได้ด้วยสติสัมปชัญญะของคนอื่น ๆ

② ประเด็นสำาคัญคือสิ่งที่ต้องทำาเมื่อปัญหาหมดไป

③ ปัญหาที่ปราศจากหนทางการแก้ไขย่อมไม่ถือว่าเป็นปัญหา

2. จะเลือกระบุปัญหาได้อย่างไร?
① คิดอยูเ่ สมอว่า “ทำาไมจึงเป็นเช่นนี้?” ไม่ช้าจะคิดได้ว่า “นี่มันไม่ถูกต้อง”

② ไม่ควรคิดว่า “เท่านี้ก็เพียงพอแล้ว” ควรระลึกเสมอว่า “ต้องดีกว่านี้ได้”

③ ไม่ควรกล่าวว่า “ทำาไม่ได้หรอก” แต่ควรกล่าวว่า “ต้องทำาได้แน่นอน”

④ จดบันทึกทุกอย่าง และคิดทบทวนถึงจุดที่เป็นปัญหา

⑤ จงหมั่นเรียนรู้อยูเ่ สมอ เพื่อสามารถคิดวิเคราะห์ได้จากมุมมองที่แตกต่างและหลากหลาย

15
3. ระบุปัญหา
มองไม่เห็นหรือ?
คุณเคยเจอเหตุการณ์เช่นนี้หรือไม่
 คุณอธิบายอย่างละเอียดแต่ไม่มีใครเข้าใจ
 เจ้านายคุณไม่เคยเห็นด้วยกับความคิดของคุณ
 รุ่นพีท่ ี่ทำางานไม่เข้าใจถึงความจำาเป็นในการหาหนทางการเข้าถึงปัญหาแ
บบอื่น ๆ
 คุณคิดว่าเข้าใจประเด็นเป็นอย่างดี แต่เมื่อเจอปัญหา คุณก็สิ้นหนทาง
 ไม่มีใครเข้าใจว่าประเด็นปัญหานั้นซับซ้อนเกินกว่าจะแก้ไขได้

16
สรุปทบทวน
1. ยอมรับจุดประสงค์ของคุณกันเถอะ (สิ่งที่คณ
ุ เข้าใจว่าเป็นปัญหา)
2. ยอมรับความจริงกันเถอะ
3. มาแยกแยะข้อเท็จจริงด้วยกันเถอะ
4. มาแยกแยะปัญหาให้ชดั เจนกันเถอะ
5. มาร่วมกันร่างสมมติฐานของปัญหาและสาเหตุที่เป็นเหตุเป็นผลกันเถอะ
6. มาร่วมกันตรวจสอบลำาดับความสำาคัญและวิธีการแก้ไขปัญหากันเถอะ
7. มาเลือกหัวข้อและวิธกี ารแก้ไขปัญหากันเถอะ
8. ยืนยันกันหน่อยว่าคนอื่น ๆ เข้าใจ (ลองใหม่ถา้ ยังไม่สำาเร็จ)
9. มาร่วมกันวางแผนการปฏิบัติงานกันเถอะ
10. ลงมือทำากันเถอะ
11. มาร่วมกันคิดกันว่าจะมีวิธีที่ดีกว่าวิธีที่ใช้อยู่หรือไม่ ( PDCA)
17

Das könnte Ihnen auch gefallen