Sie sind auf Seite 1von 17

Guideline การใช้ โปรแกรม DIgSILENT Power Factory

วัตถุประสงค์
เพือจําลองการเกิด Fault ทีเกิดขึ นบนระบบไฟฟ้ าแบบ Single Line to Ground
เพือศึกษาระดับแรงดันตกชัว ขณะของบัสทีสนใจ เมือเกิด Fault ขึ นในระบบไฟฟ้ า
หมายเหตุ
ไฟล์ Simulation ใช้ กบั DIgSILENT Power Factory Version 15.1

ตัวอย่ าง
ผู้ใช้ ไฟฟ้ ารายหนึง (Customer A) รับไฟฟ้ าทีระดับแรงดัน 22 kV จากสถานีไฟฟ้ า RSD ฟี ดเดอร์ A ระยะห่างจาก
สถานีไฟฟ้ า 1 km. ตามผังจ่ายไฟดังรูปที 1 โดยศึกษาขนาดแรงดันตกชัว ขณะทีเ กิดขึ นทีจ ดุ รับไฟฟ้ าของผู้ใช้ ไฟฟ้ าเมือเกิด
Fault ขึ นในระบบไฟฟ้ า ดังตาราง
Feeder A

Feeder B

รายละเอียดของ Section
Section ชนิด ขนาดสาย ความยาวสาย (กม.) ชือโหลด โหลด (MW,
Mvar)
Feeder A SAC-185 1 Customer 1.2 , 1
Feeder B SAC-185 2 Load Feeder B 2.5 , 1
ดําเนินการ
สร้ าง Grid ด้ วยโปรแกรม DIgSILENT ได้ ดงั รู ป
ศึกษาการจําลองการเกิด Fault ในระบบไฟฟ้ าด้ วย Mode RMS/EMT Simulation

เริ มต้ นด้ วยการรัน Power Flow แบบ AC Load Flow, unbalanced 3 phase
เลือก Bus ทีเราสนใจจะศึกษาระดับแรงดันในสภาวะเกิด Fault ขึ นในระบบไฟฟ้ า ในกรณีนี คือ Bus A

เลือกตัวแปรทีสนใจใน Dialog Box ดังรู ป โดยเลือกตัวแปร U:A, U:B, U:C คือ ระดับแรงดันเฟส An, Bn และ Cn
ทําเช่นเดียวกันที bus 22 kV

กดตรวจสอบดูคา่ บัสทีนิยามไว้ ว่าถูกต้ อง ครบถ้ วนหรื อไม่


ทดลองกําหนด Fault ทีบสั ต่างๆ และกําหนดค่าพารามิเตอร์ ทีเกียวข้ องได้ แก่ บัสทีเกิด fault ชนิดของ fault เป็ นต้ น
โดยจะทดลองสร้ าง Fault ทีบสั B01

กําหนดพารามิเตอร์ ของ Fault ได้ แก่ ช่วงระยะเวลาทีศ กึ ษา, บัสทีเกิด Fault, ชนิดของ Fault
โดยทดลองกําหนด Fault เกิดทีบ สั B01 ชนิด A-G โดยเหตุการณ์เกิดทีเ วลา 2 S
เมือสร้ างเหตุการณ์ Fault แล้ ว ให้ ทําการสร้ าง Initial Condition ของเหตุการณ์

ทําการ Simulation โดยกําหนดช่วงเวลาการศึกษาทังหมดให้


 ครอบคลุมเหตุการณ์ทีเราสร้ างไว้
ผลการ Simulation ทีแสดงบน Grid

เมือทดลอง Plot ระดับแรงดันในบัสทีได้ Define ไว้ ในตอนต้ น ได้ แก่ระดับแรงดันทีบสั 22 kV และบัส A


สร้ างเพจ ใหม่สาํ หรับแสดงผลระดับแรงดันทีบสั โดยเริมจาก Click ขวาที Tab Grid ด้ านล่างจากนันเลื
 อก Menu Insert
Page ตามด้ วย Create New Page จะปรากฏ Dialog Box เลือกดังรู ป
จากเพจทีเ ราสร้ างใหม่ โดยในตัวอย่างคือ เพจ BusVoltage ให้ สร้ างตารางสําหรับ Plot ระดับแรงดัน
เลือก บัสทีต้องการ Plot และเลือกตัวแปรที Define ไว้ ในตอนต้ น เริ มจากเลือก บัส 22kV Busbar และ ตัวแปร m U:A
จะได้ การ plot แรงดันทีบสั 22kV Busbar ในช่วงเกิด Fault ในกรณีไม่พบรู ปกราฟ ให้ click เลือก Scale ในวงกลมทีแสดง

ทําการเพิม Bus A plot เทียบกับ Bus 22kV Busbar


ทําเช่นเดียวกับการระบุ บัสในข้ างต้ น แต่ครัง นี เปลีย นเป็ น Bus A และเลือกตัวแปร U:A เช่นเดียวกับ Bus 22kV Busbar

ได้ ระดับแรงดันทีบสั 22kV Busbar และทีบสั A เทียบกันระหว่างที Fault เกิดขึ น


สามารถตรวจสอบช่วงเวลาและระดับแรงดันตามจุดต่างๆ ได้ ด้ วยเครื องมือบน ทูลบาร์

ทดลองเพิมเหตุการณ์ สวิทซ์ ที Feeder B ปลดวงจร โดยกําหนดให้ ปลดทีระยะเวลา 2.08 S


โดยมาที เพจ Grid และเพิมเหตุการณ์ Switch Event
กําหนดรายละเอียดของเหตุการณ์ปลดสวิทซ์ได้ แก่
เลือกช่วงระยะเวลาการเกิดที 2.08 S
เลือก สวิทซ์ทีทําการปลดโดยเลือกที 22kV Busbar Cub3 และเลือกอุปกรณ์คือ Switch
เลือก Action : Open

ในกรณีไม่ทราบ Cubicle ทีต้องการปลดสามารถดูรายละเอียดได้ การเชือมต่อได้


ทดลอง Plot ระดับแรงดันหลังจากเพิม
 เหตุการณ์ ปลดสวิทซ์ที Feeder B โดยเข้ า menu

ตรวจสอบทีเพจ Grid พบว่าเกิด Fault ที บัส B01 และ อุปกรณ์สวิทซ์ที Feeder B ปลดวงจร
กําหนดให้ Plot แรงดันทุกเฟส ทัง 2 บัส จะได้ ดงั รูป

จากเหตุการณ์ Fault ทีบสั B01 ชนิด A-G พบว่าแรงดันที 22kV Busbar และแรงดันทีบสั A มีรายละเอียดดังนี 
บัส เฟสทีเกิด Vdip แรงดันคงเหลือ (kV) แรงดันคงเหลือ (%) ระยะเวลาเกิด (S)
22 kV Busbar A 10.7 84% 0.075
A A 10.56 83% 0.075

Das könnte Ihnen auch gefallen