Sie sind auf Seite 1von 94

การเตรียม methamphetamine จากยาเสพติดทีตรวจจับ (ยาไอซ์ ) และตรวจความบริสุทธิด้ วยวิธี Gas

Chromatography - FID

โดย
พันตํารวจโทธนบูรณ์ ธัชศฤงคารสกุล

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2553
ลิขสิ ทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
การเตรียม methamphetamine จากยาเสพติดทีตรวจจับ (ยาไอซ์ ) และตรวจความบริสุทธิด้ วยวิธี Gas
Chromatography - FID

โดย
พันตํารวจโทธนบูรณ์ ธัชศฤงคารสกุล

วิทยานิพนธ์ นีเป็ นส่ วนหนึงของการศึกษาตามหลักสู ตรปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต


สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ปี การศึกษา 2553
ลิขสิ ทธิของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
PURIFICATION OF METHAMPHETAMINE FROM SEIZED DRUGS (ICE) AND
DETERMINATION OF PURITY BY GC - FID

By
Thanaboon Tuchsaringkransakul

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements for the Degree


MASTER OF SCIENCE
Program of Forensic Science
Graduate School
SILPAKORN UNIVERSITY
2010
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร อนุมตั ิให้วทิ ยานิพนธ์เรื อง “ การเตรี ยม
methamphetamine จากยาเสพติดทีตรวจจับ (ยาไอซ์) และตรวจความบริ สุทธิด้วยวิธี Gas
Chromatography - FID ” เสนอโดย พันตํารวจโทธนบูรณ์ ธัชศฤงคารสกุล เป็ นส่ วนหนึงของ
การศึกษาตามหลักสู ตรปริ ญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์

……...........................................................
(ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ปานใจ ธารทัศนวงศ์)
คณบดีบณั ฑิตวิทยาลัย
วันที..........เดือน.................... พ.ศ...........

อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์
1. อาจารย์ ดร.ศิริรัตน์ ชูสกุลเกรี ยง
2. อาจารย์ ดร.ศุภชัย ศุภลักษณ์นารี

คณะกรรมการตรวจสอบวิทยานิพนธ์

.................................................... ประธานกรรมการ
(รองศาสตราจารย์ ดร.ธนิต ผิวนิม)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ
(พันตํารวจเอกปรัชญ์ชยั ใจชาญสุ ขกิจ)
............/......................../..............

.................................................... กรรมการ .........................................................กรรมการ


(อาจารย์ ดร.ศิริรัตน์ ชูสกุลเกรี ยง) (อาจารย์ ดร.ศุภชัย ศุภลักษณ์นารี )
............/......................../.............. ............/......................../..............
51312341 : สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์
คําสําคัญ : เมทแอมเฟตามีน/ยาไอซ์/แก๊สโครมาโทรกราฟฟี
ธนบูรณ์ ธัชศฤงคารสกุล : การเตรี ยม methamphetamine จากยาเสพติดทีตรวจจับ (ยา
ไอซ์) และตรวจความบริ สุทธิ ด้วยวิธี Gas Chromatography - FID. อาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ :
อ.ดร.ศิริรัตน์ ชูสกุลเกรี ยง และ อ.ดร.ศุภชัย ศุภลักษณ์นารี . 82 หน้า.

เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine) เป็ นยาเสพติดทีแพร่ ระบาดมากในประเทศไทย มี


การตรวจจับได้ปริ มาณมากในรู ปผงเรี ยกว่า ยาไอซ์ ซึ งมีปริ มาณ methamphetamine ทีสู ง ส่ วนทีพบ
ในรู ปเม็ดยาเรี ยกว่า ยาบ้า ในการตรวจวิเคราะห์เชิงคุณภาพและเชิงปริ มาณของ methamphetamine
ในยาเสพติดทีตรวจจับได้นนั จําเป็ นต้องใช้สาร methamphetamine ทีมีความบริ สุทธิ สู งเพือเป็ นสาร
อ้างอิง ซึงราคาของสารมาตรฐาน methamphetamine ทีใช้ในห้องปฏิบตั ิการมีราคาสู ง งานวิจยั นีจึง
มีวตั ถุประสงค์เพือพัฒนาวิธีเพิมความบริ สุทธิของ methamphetamine จากตัวอย่างยาไอซ์ โดย
วิธีการตกผลึกซําและวิเคราะห์ความบริ สุทธิ ด้วยเทคนิค gas chromatography และใช้ flame
ionization เป็ นตัวตรวจวัด (GC – FID) จากการทดลองศึกษาและตรวจสอบความถูกต้องของวิธีการ
วิเคราะห์ดว้ ยวิธี GC – FID พบว่า ช่วงความเป็ นเส้นตรงของกราฟมาตรฐานทีช่วงความเข้มข้น 0.05
g/L ถึง 5.0 g/L มีสมการเชิงเส้นคือ y = 1.0602x - 0.0336 และมีค่าสัมประสิ ทธิสหสัมพัทธ์ (R2)
เท่ากับ 0.9988 ค่า limit of detection และ limit of quantification เท่ากับ 0.03285 g/L และ 0.03557
g/L ตามลําดับ เมือนํามาวิเคราะห์ความบริ สุทธิของตัวอย่าง พบว่า ปริ มาณของ methamphetamine
ในยาไอซ์ทีตรวจจับได้อยูใ่ นช่วง 89 ถึง 92 % และหลังจากทําการทดลองทําให้บริ สุทธิ พบว่า
ปริ มาณของ methamphetamine ในตัวอย่างเพิมขึนอยูใ่ นช่วง 92 ถึง 96 % และมีค่าร้อยละผลผลิต
ของการทําให้บริ สุทธิที 30 % ดังนันคาดหวังว่าการเพิมความบริ สุทธิ ของตัวอย่างยาไอซ์จะสามารถ
ใช้เป็ นสารมาตรฐานในการวิเคราะห์หาปริ มาณยาเสพติดได้

สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี การศึกษา 2553


ลายมือชือนักศึกษา............................................................................
ลายมือชืออาจารย์ทีปรึ กษาวิทยานิพนธ์ 1. ....................................... 2. ............................................

51312341 : MAJOR : FORENSIC SCIENCE
KEY WORD : METHAMPHETAMINE/YA ICE/GAS CHROMATOGRAPHY
THANABOON TUCHSARINGKRANSAKUL : PURIFICATION OF
METHAMPHETAMINE FROM SEIZED DRUGS (ICE) AND DETERMINATION OF PURITY BY GC
- FID. THESIS ADVISORS : SIRIRAT CHOOSAKOONKRIANG,Ph.D, AND SUPACHAI
SUPALAKNARI,Ph.D. 82 pp.

Among the other drugs, methamphetamine (MA) is the major abused drug widely
used in Thailand. The high purity MA in powder, known as “Ya Ice”, was often distributed with
“Ya Ba”, the tablet form of MA, and was seized in a large amount by the authority. In the
identification and determination of MA in seized drugs, a high purity MA is required to use as
a standard reference. The standard MA used in our Laboratory was obtained at very high
cost. It is thus the objective of this study to develope methods for purification of MA from “Ya
Ice”. The seized drug samples were purified by recrystalization and analysed for the purity by
Gas Chromatography – Flame Ionization Detection (GC-FID). The validation of the GC – FID
method was carried out. A linearity of the calibration curve was obtained within the working
range of 0.05 g/L to 5.0 g/L (y = 1.0602x – 0.0336, R2 = 0.9988). The limit of detection and
the limit of quantification were 0.03285 g/L and 0.03557 g/L respectively. The method was
then used to estimate the purity of the samples. The amount of MA in the seized samples was
found to be in the range of 89% to 92% . After purification, the MA purity of the samples
increased to the range of 92% to 96% with the purification yield of 30%. It is thus anticipated
that the purified sample can be used in the future as a standard MA for drug analysis

Program of Forensic Science Graduate School, Silpakorn University Academic Year 2010
Student's signature………………………………………………………………………………………
Thesis Advisors' signature 1. ......................................... 2. ..............................................


กิตติกรรมประกาศ

ขอขอบพระคุณผูท้ ีให้การสนับสนุนและให้ความช่วยเหลือทุกท่าน โดยเฉพาะอย่างยิง


อาจารย์ ดร.ศิริรัตน์ ชูสกุลเกรี ยง และอาจารย์ ดร.ศุภชัย ศุภลักษณ์นารี ในฐานะอาจารย์ทีปรึ กษา
วิทยานิ พนธ์ ทีได้กรุ ณาให้คาํ แนะนํา ช่ วยเหลื อ และตรวจแก้ไขข้อบกพร่ องต่างๆ ตลอดจนช่ วย
แก้ปัญหาต่างๆ ทําให้วทิ ยานิพนธ์ฉบับนีประสบสําเร็ จและมีความสมบูรณ์ยงขึ ิ น
ขอขอบคุ ณเจ้าหน้าที ห้องปฏิ บ ตั ิ การทุก ท่ านที ช่ ว ยอํานวยความสะดวกและที สํา คัญ
ขอขอบคุ ณภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัย ศิลปากร และท่านอาจารย์ทุกท่านทีคอย
อบรมสังสอนให้ความรู ้ต่างๆ ทังทางด้านวิชาการและการดําเนินชีวิตตลอดระยะเวลาทีได้ศึกษาใน
สถาบันนี


สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย .................................................................................................................... ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ............................................................................................................... จ
กิตติกรรมประกาศ ..................................................................................................................... ฉ
สารบัญตาราง ............................................................................................................................ ฌ
สารบัญภาพ ............................................................................................................................... ฎ
บทที
1 บทนํา ............................................................................................................................. 1
ความเป็ นมาและความสําคัญของปัญหา ................................................................ 1
วัตถุประสงค์ของการวิจยั ...................................................................................... 2
สมมติฐานของการวิจยั .......................................................................................... 2
ขอบเขตของการวิจยั ............................................................................................. 2
ข้อจํากัดในการวิจยั ............................................................................................... 2
นิยามศัพท์เฉพาะ ................................................................................................... 2
ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการวิจยั ................................................................ 3
2 วรรณกรรมทีเกียวข้อง ................................................................................................... 4
ความรู ้พืนฐานเกียวกับยาเสพติด ........................................................................... 4
ความรู ้พืนฐานเกียวกับยาบ้า .................................................................................. 6
โครงสร้างทางเคมีและคุณสมบัติทางเคมีของสารประกอบในยาบ้า ..................... 9
ประวัติความเป็ นมาของแอมเฟตามีน .................................................................... 14
การสังเคราะห์ methamphetamine......................................................................... 15
กฎหมายและบทกําหนดโทษทีเกียวกับเมทแอมเฟตามีน ...................................... 16
การตรวจพิสูจน์ methamphetamine ...................................................................... 18
หลักการพืนฐานของเครื องมือทีใช้ในการวิเคราะห์ .............................................. 18
เอกสารและงานวิจยั ทีเกียวข้อง ............................................................................. 45
3 วิธีดาํ เนินการวิจยั ........................................................................................................... 46
สารเคมีทีใช้ในการทดลอง .................................................................................... 46
เครื องมือและอุปกรณ์ทีใช้ในการทดลอง .............................................................. 47
วิธีการทดลอง ........................................................................................................ 47

บทที หน้า
4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล.................................................................................................... 54
5 สรุ ป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ ............................................................................... 67
สรุ ปผลการวิจยั ..................................................................................................... 67
อภิปรายผล ............................................................................................................ 67
ข้อเสนอแนะ ......................................................................................................... 68

บรรณานุกรม ............................................................................................................................. 69

ภาคผนวก .................................................................................................................................. 72

ประวัติผวู้ ิจยั .............................................................................................................................. 82


สารบัญตาราง
ตารางที หน้า
1 ข้อหาและบทลงโทษของยาเสพติดให้โทษประเภทที ................................... 8
2 คุณสมบัติทางเคมีของแอมเฟตามีน .................................................................. 9
3 คุณสมบัติทางเคมีของเมทแอมเฟตามีน .............................................................. 10
4 คุณสมบัติทางเคมีของคาเฟอีน.......................................................................... 11
5 คุณสมบัติทางเคมีของอีเฟดริ น ......................................................................... 12
6 ยาเสพติดให้โทษประเภท ตามบัญชีทา้ ยประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบับ
ที ...................................................................................................... 17
7 เกณฑ์การยอมรับค่า LOD และ LOQ ............................................................... 26
8 ค่า chemical shift ของโปรตอนชนิ ดต่างๆ........................................................ 29
9 การเกิดการ stretching ในช่วงความถีทีแตกต่างกันใน IR spectrum ................. 31
10 สารเคมีทีใช้ในการทดลอง................................................................................ 46
11 เครื องมือและอุปกรณ์ทีใช้ในการทดลอง .......................................................... 47
12 ปริ มาณสารทีใช้ในการเตรี ยมสารละลายมาตรฐาน ทีความเข้มข้นทีระดับต่างๆ 50
13 ร้อยละผลผลิตทีได้จากการตกผลึกซําเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาไอซ์ ....... 54
14 อัตราส่ วนระหว่างพืนทีใต้พีคของสารมาตรฐาน MA ต่อสาร ISTD ทีความเข้ม
ข้นต่างๆของสารละลายมาตรฐาน MA ................................................... 55
15 ผลการวิเคราะห์หาค่า LOD และ LOQ โดยใช้ internal standard เป็ น blank .... 57
16 การวิเคราะห์ความบริ สุทธิ ของเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาไอซ์ทงก่ ั อนและ
หลังการตกผลึกซํา .................................................................................. 58
17 ค่า chemical shift โปรตอนของสารละลายมาตรฐาน MA ในการวิเคราะห์ดว้ ย
เทคนิค NMR .......................................................................................... 59
18 ค่า onset temperature และ peak maximum วิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC ............ 64


สารบัญภาพ
ภาพที หน้า
1 ลักษณะโครงสร้างของ sympathomimetic amines ............................................. 13
2 ปฏิกิริยาการเปลียน ephedrine เป็ น methamphetamine ...................................... 14
3 most common synthesis routes of clandestinely manufactured
methamphetamine .................................................................................. 15
4 องค์ประกอบทีสําคัญของเครื องแก๊สโครมาโทกราฟฟี (GC) ............................. 19
5 detector ชนิด flame ionization detector (FID) ................................................... 22
6 ส่ วนประกอบของเครื อง NMR spectrum ........................................................... 27
7 H NMR spectrum ของ ethanol ......................................................................... 28
8 ตําแหน่งของ chemical shift ของโปรตอนบนสเปกตรัมของเทคนิค NMR ....... 30
9 การยืด-หดของพันธะ (bond stretching) หรื อการโค้งงอของพันธะ (bond
bending) ................................................................................................. 31
10 infared spectrum ของ cyclopentane................................................................... 33
11 infared spectrum ของ cyclohexane .................................................................... 34
12 heat flux DSC (บน) และ power-compensation DSC (ล่าง)............................... 35
13 thermogram ทีได้จากการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC .......................................... 37
14 วิธีสาํ หรับการรายงานอุณหภูมิของการเปลียนแปลง .......................................... 38
15 องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS .................................................... 39
16 กลไกการเกิด fragment ของ EI และ CI ............................................................. 40
17 electron ionization (EI) ...................................................................................... 41
18 chemical ionization (CI) .................................................................................... 41
19 quadrupole mass analyzer .................................................................................. 42
20 การทํางานของเครื อง MS ................................................................................... 43
21 การทํางานของ detector ใน GC-MS .................................................................. 43
22 chromatogram ของ MA ทีได้จากการวิเคราะห์ดว้ ย MS .................................... 44
23 แผนผังการตกผลึกซํา methamphetamine ในตัวอย่างยาไอซ์ ............................. 49
24 chromatogram ของสารละลายมาตรฐาน เมทแอมเฟตามีน ทีความเข้มข้น g/L 55
25 กราฟมาตรฐานระหว่างอัตราส่ วนพืนทีใต้พีคของสารมาตรฐาน MA ต่อสาร
มาตรฐานISTD กับความ เข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน MA (g/L) .. 56

ภาพที หน้า
26 chromatogram ของ internal standard................................................................. 56
27 chromatogram ของเมทแอมเฟตามีนทีได้จากการวิเคราะห์ตวั อย่าง ................... 58
28 chemical shift โปรตอนของสารละลายมาตรฐาน MA ...................................... 59
29 chemical shift โปรตอนของสารตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา ............................. 60
30 chemical shift โปรตอนของตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก ......................... 61
31 IR spectrum ของสารมาตรฐาน MA ................................................................. 61
32 IR spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา ..................................................... 62
33 IR spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก .......................................... 62
34 thermogram ของสารมาตรฐานMA .................................................................... 63
35 thermogram ของตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา ..................................................... 63
36 thermogram ของตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก .......................................... 64
37 mass spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา ................................................. 65
38 กลไกการแตกโมเลกุลของ MA .......................................................................... 65
39 mass spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก ...................................... 66
40 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.. 74
41 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 75
42 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 76
43 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 77
44 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 78
45 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 79
46 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 80
47 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L.... 81


บทที 1
บทนํา

. ความเป็ นมาและความสํ าคัญของปัญหา


ปั ญหายาเสพติดเป็ นปัญหาทีทุกประเทศทัวโลกให้ความสําคัญในการป้ องกันและแก้ไข
ปั ญหาให้หมดไปเพราะปั ญหายาเสพติดเป็ นปั ญหาทีทําลายความมันคงของชาติและเป็ นปั ญหา
สําคัญของปั ญหาอืนๆ เช่ น ปั ญหาอาชญากรรม ปั ญหาเยาวชนติดยาเสพติด เป็ นต้น ดังนันองค์กร
สหประชาชาติจึงได้กาํ หนดให้วนั ที มิถุนายนของทุกปี เป็ นวัน “ต้านยาเสพติดโลก” เพือให้ทุก
ประเทศทัวโลกได้ตระหนักถึงปั ญหายาเสพติดและหาทางป้ องกันและแก้ไขปั ญหายาเสพติดจาก
ประเทศของตน (เดลินิวส์ )
ปัจจุบนั ปั ญหาเกียวกับยาเสพติดเพิมความรุ นแรงมากขึน ทราบได้จากสื อต่างๆไม่วา่ จะ
เป็ นทางโทรทัศน์ วิทยุ หรื อหนังสื อพิมพ์ ในช่วงเดือนมกราคม ถึงเดือนกรกฎาคม ยาเสพติดมี
การแพร่ ระบาดมากขึนโดย อันดับแรกคือ ยาบ้า กัญชา และสารระเหย (กรมพินิจคุม้ ครองเด็กและ
เยาวชน )
ในประเทศไทย ยาบ้า ยาม้า ยาขยัน เป็ นยาเสพติดทีแพร่ ระบาดเป็ นส่ วนใหญ่ มีสารเสพ
ติดทีสําคัญคือ methamphetamine จัดเป็ นสารเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยาเสพ
ติดให้โทษ พ.ศ. 2522 (สถาบันวิชาการและตรวจพิสูจน์ยาเสพติด 2550)
เมือผูเ้ สพทําการเสพเข้าสู่ ร่างกาย ระยะแรกร่ างกายจะตื นตัว หัวใจเต้นเร็ ว ความดัน
โลหิ ต สู ง ใจสั นประสาทตึ ง เครี ย ด แต่ เมื อหมดฤทธิ ยาร่ า งกายจะรู้ สึ ก อ่ อนเพลี ย มากกว่า ปกติ
ประสาทล้าทําให้การตัดสิ นใจช้า และผิดพลาดเป็ นสาเหตุให้เกิดอุบตั ิเหตุร้ายแรงได้ ถ้าใช้ติดต่อ
เป็ นเวลานาน จะทําให้สมองเสื อม เกิดอาการประสาทหลอนเห็นภาพลวงตา หวาดระแวง คลุม้ คลัง
เสี ยสติ เป็ นบ้าอาจทําร้ายตนเองและผูอ้ ืนได้ หรื กรณี ทีได้รับยาในปริ มาณมาก (overdose) จะไปกด
ประสาทและระบบหายใจทําให้หมดสติ และถึงแก่ความตายได้ (รัตติยากร สําราญพิศ 2552)
เนืองจากการตรวจพิสูจน์หลักฐานสารเสพติดถือว่าเป็ นกิจกรรมหนึ งทีมีความสําคัญใน
การแก้ไขปั ญหายาเสพติด โดยในขันตอนการวิเคราะห์ตรวจพิสูจน์นนั จําเป็ นทีจะต้องใช้สารทีมี
ความบริ สุทธิ สู งเป็ นสารมาตรฐาน (standard) เพือใช้อา้ งอิงซึ งมีค่าใช้จ่ายในการจัดซื อสู ง ดังนัน
ผูท้ าํ การวิจยั จึง ได้นําความรู้ ท างด้า นวิทยาศาสตร์ เข้ามาศึก ษาคิ ดค้น ทีจะเพิมความบริ สุท ธิ ของ
methamphetamine ที อยู่ใ นตัว อย่า งยาไอซ์ ใ ห้สู ง ขึ น เพื อใช้เป็ นสารมาตรฐานที จะให้ผ ลการ
1
2

วิเคราะห์มีความถูกต้อง แม่นยําและลดค่าใช้จ่ายในการตรวจพิสูจน์สารเสพติดตลอดจนเพือเป็ นการ


พัฒนางานด้านการตรวจพิสูจน์สารเสพติด และวัตถุออกฤทธิ ด้วย โดยในงานวิจยั นีได้ศึกษาวิธีทีจะ
เพิมความบริ สุทธิ ของ methamphetamine ทีอยูใ่ นตัวอย่างยาไอซ์โดยการตกผลึกซํา และได้ศึกษาค่า
ความบริ สุทธิ ของ methamphetamine ทีตกผลึกซํา โดยใช้เทคนิค gas chromatography (GC) แล้ว
เปรี ยบเทียบค่าความบริ สุทธิ ของ methamphetamine ทีได้จากทังก่อนและหลังการตกผลึกซํา

. วัตถุประสงค์ ของการวิจัย
1. เพือศึกษาวิธีการตกผลึกซําของ methamphetamine ในยาไอซ์
2. เพือศึกษาค่าความบริ สุทธิ ของ methamphetamine ทีได้ตกผลึกซําจากยาไอซ์โดยใช้
เทคนิค gas chromatography (GC-FID)

. สมมติฐานของการวิจัย
1. สามารถตกผลึกซํา methamphetamine ในยาไอซ์เพือใช้เป็ นสารมาตรฐานได้
2. สามารถวิเคราะห์ความบริ สุทธิ ของ methamphetamineโดยใช้เทคนิค gas
chromatography (GC) ได้

. ขอบเขตของการวิจัย
1. ศึกษาวิธีการตกผลึกซํา methamphetamine ในตัวอย่างยาไอซ์จาํ นวน 8 ตัวอย่าง
2. วิเคราะห์ความบริ สุทธิ ของ methamphetamine โดยใช้เทคนิค gas-chromatography
(GC)

5. ข้ อจํากัดในการวิจัย
ในการวิจยั นี ไม่สามารถเปรี ยบเทียบความบริ สุทธิ ของ methamphetamine ทีตกผลึกซํา
จากยาไอซ์แต่ละแหล่งได้ เนื องจากตัวอย่างมีปริ มาณน้อยจึงต้องนําตัวอย่างทีตรวจยึดได้มารวมกัน
แล้วจึงตกผลึกซําภายหลัง

6. นิยามศัพท์เฉพาะ
methamphetamine หมายถึง สารทีได้จากการสกัดขึนของ amphetamine ซึ งมีผลต่อ
ร่ างกายในระบบประสาทส่ วนกลางได้รุนแรง methamphetamine มีประโยชน์ในทางการแพทย์ คือ
เป็ นยารักษาโรคหลายชนิดทีนิยมแพร่ หลายเป็ นยาดมแก้หวัด คัดจมูก แต่ก่อให้เกิดโทษ คือ เมือเสพ
3

จะทําให้ติดได้ และเมือเสพในปริ มาณมากจะเกิดอาการคลุม้ คลัง เพ้อทําร้ายตัวเองและคนรอบข้าง


ได้
ยาไอซ์ หมายถึ ง เมทแอมเฟตามี น เป็ นอนุ พ นั ธ์หนึ งของยาบ้า มี โครงสร้ า งทางเคมี
คล้ายๆ กันจัดเป็ นยาเสพติดทีออกฤทธิ ต่อจิตและประสาทประเภทที ตาม พ.ร.บ.ยาเสพติดปี
ลักษณะของเม็ดยาเป็ นผลึกคล้ายนําแข็งเป็ นทีมาของชื อ ยาไอซ์ ความบริ สุทธิ ของยาค่อนข้างสู ง
ออกฤทธิ แรงกว่ายาบ้ามากจึงมีคนเรี ยกว่าหัวยาบ้า ไม่ได้มีแพร่ หลายกันทัวไปเนืองจากหายากและ
ราคาค่อนข้างแพง
gas chromatography (GC) หมายถึง เทคนิ คทีใช้ในการแยกสารผสมออกจากกันโดย
เทคนิคนีใช้การแยกสารทีสามารถเปลียนเป็ นแก๊ซเฟสได้ทีอุณหภูมิหนึ ง เมือสารผสมนันถูกเปลียน
ให้อยูใ่ นแก๊ซเฟสแล้ว สารเหล่านันจะผ่านเข้าไปในคอลัมน์ทีบรรจุดว้ ยเฟสคงที (stationary phase)
โดยอาศัยการพาไปของเฟสเคลือนที (mobile phase) หรื อแก๊ซตัวพา (carrier gas) สารผสมเหล่านัน
จะเกิดการแยกขึน

7. ประโยชน์ ทคาดว่
ี าจะได้ รับจากการวิจัย
1. สามารถหาวิธีทีเหมาะสมทีใช้ในการตกผลึกซํา methamphetamine ในตัวอย่างยา
ไอซ์เพือใช้เป็ นสารมาตรฐานได้
2. สามารถใช้เทคนิ ค gas chromatography (GC) วิเคราะห์ ค วามบริ สุ ท ธิ ของ
methamphetamine ได้
บทที 2
วรรณกรรมทีเกียวข้ อง

1. ความรู้ พนฐานเกี
ื ยวกับยาเสพติด
. ความหมายของยาเสพติด
สิ งเสพติด หรื อทีเรี ยกว่า “ยาเสพติด” ในความหมายขององค์กรอนามัยโลก
( World Health Organization : WHO ) จะหมายถึง ยาหรื อสารเคมี หรื อวัตถุชนิดใดๆ ทีอาจเป็ น
ผลิตภัณฑ์จากธรรมชาติ หรื อ จากการสังเคราะห์ ซึ งเมือเสพเข้าสู่ ร่างกายไม่วา่ จะโดยวิธีการกิน ดม
สู ด ฉี ด หรื อวิธีใดๆก็ตาม เป็ นช่วงระยะเวลาๆ หรื อนานติดกัน จนทําให้ร่างกายทรุ ดโทรมและตก
อยูภ่ ายใต้อาํ นาจหรื อเป็ นทาสของสิ งนัน ทังทางด้านร่ างกายและจิตใจ หรื อจิตใจเพียงอย่างเดียว
เนืองจาก
. . ต้องเพิมขนาดการเสพมากขึนเรื อยๆ เพราะเมือเสพเข้าไปสักระยะจะเกิ ด
ภาวะดือยาปริ มาณเดิมไม่สามารถทําให้เมาได้
1.1.2 เมือถึงเวลาเสพ หากไม่ได้เสพจะทําให้เกิดอาการขาดยา ทําให้ทรมานทัง
ทางด้านร่ างกายและจิตใจ หรื อจิตใจเพียงอย่างเดียว
1.2 ประเภทของยาเสพติด
ยาเสพติด แบ่งได้หลายรู ปแบบ ตามลักษณะต่าง ๆ ดังนี
1.2.1 แบ่ งตามแหล่งทีเกิด ซึงจะแบ่ งออกเป็ น ประเภท คือ
. . . ยาเสพติดธรรมชาติ (Natural Drugs) คือยาเสพติดทีผลิตมาจากพืช
เช่น ฝิ น กระท่อม กัญชา เป็ นต้น
. . . ยาเสพติดสังเคราะห์ (Synthetic Drugs) คือยาเสพติดทีผลิตขึนด้วย
กรรมวิธีทางเคมี เช่น เฮโรอีน แอมเฟตามีน เป็ นต้น

4
5

1.2.2 แบ่ งตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้ โทษ พ.ศ.2522 ซึงจะแบ่ งออกเป็ น 5


ประเภท คือ
1.2.2.1 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที 1 ได้แก่ เฮโรอีน แอลเอสดี แอมเฟตา
มีน หรื อยาบ้า ยาอีหรื อยาเลิฟ
1.2.2.2 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที 2 ยาเสพติดประเภทนีสามารถนํามาใช้
เพือประโยชน์ทางการแพทย์ได้ แต่ตอ้ งใช้ภายใต้การควบคุมของแพทย์ และใช้เฉพาะกรณี ทีจําเป็ น
เท่านัน ได้แก่ ฝิ น มอร์ ฟีน โคเคน หรื อโคคาอีน โคเคอีน และเมทาโดน
1.2.2.3 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที 3 ยาเสพติดประเภทนีเป็ นยาเสพติดให้
โทษที มี ย าเสพติ ด ประเภทที 2 ผสมอยู่ด้ว ย มี ป ระโยชน์ ท างการแพทย์ การนํา ไปใช้ เ พื อ
จุดประสงค์อืน หรื อเพือเสพติด จะมีบทลงโทษกํากับไว้ ยาเสพติดประเภทนี ได้แก่ ยาแก้ไอ ทีมีตวั
ยาโคเคอีน ยาแก้ทอ้ งเสี ย ทีมีฝินผสมอยู่ดว้ ย ยาฉี ดระงับปวดต่าง ๆ เช่น มอร์ ฟีน เพทิดีน ซึ งสกัด
มาจากฝิ น
1.2.2.4 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที 4 คือสารเคมีทีใช้ในการผลิตยาเสพติด
ให้โทษ ประเภทที 1 หรื อประเภทที 2 ยาเสพติดประเภทนีไม่มีการนํามาใช้ประโยชน์ในการบําบัด
โรคแต่อย่างใด และมีบทลงโทษกํากับไว้ดว้ ย ได้แก่นายาอะเซติ
ํ คแอนไฮไดรย์ และ อะเซติลคลอ
ไรด์ ซึ งใช้ในการเปลียนมอร์ ฟีนเป็ นเฮโรอีน สารคลอซูไดอีเฟครี น สามารถใช้ในการผลิตยาบ้าได้
และวัตถุ ออกฤทธิ ต่อจิ ตประสาทอีก 12 ชนิ ด ทีสามารถนํามาผลิ ตยาอีและยาบ้าได้ในยาเสพติด
ประเภทที 1 ถึง 4 ได้แก่ ทุกส่ วนของพืชกัญชา ทุกส่ วนของพืชกระท่อม เห็ดขีควาย เป็ นต้น
1.2.2.5 ยาเสพติดให้โทษ ประเภทที 5 ยาเสพติดให้โทษทีมิได้อยูใ่ นประเภท
ที 1 ถึง 4 เช่น กัญชา พืชกระท่อม
1.2.3 แบ่ งตามการออกฤทธิต่ อจิตประสาทซึงแบ่ งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1.2.3.1 ยาเสพติ ด ประเภทกดประสาท ได้แก่ ฝิ น มอร์ ฟี น เฮโรอี น สาร
ระเหย และยากล่อมประสาท
1.2.3.2 ยาเสพติ ดประเภทกระตุ น้ ประสาท ได้แก่ แอมเฟตามีน กระท่อม
และ โคคาอีน
1.2.3.3 ยาเสพติดประเภทหลอนประสาท ได้แก่ แอลเอสดี ดีเอ็มพี และเห็ด
ขีควาย
6

1.2.3.4 ยาเสพติดประเภทออกฤทธิผสมผสาน กล่าวคือ อาจกดกระตุน้ หรื อ


หลอนประสาทได้พร้อมๆกัน ตัวอย่าง เช่น กัญชา

2. ความรู้ พนฐานเกี
ื ยวกับยาบ้ า
2.1 ความหมายของยาบ้ า
กระทรวงสาธารณสุ ข; กรมการแพทย์ ( : , อ้างถึงในสุ ริยา รัตนกาญจนพันธ์
) ให้ความหมายว่า “สารเสพติดทีมีกฎหมายกําหนดไว้อย่างชัดเจน ในกลุ่มวัตถุทีออกฤทธิ ต่อ
จิตประสาทกลุ่มเดียวกับ แอลเอสดี และยาอี สารออกฤทธิ ของยาบ้าอยูใ่ นกลุ่ม amphetamine เช่ น
methamphetamine และ ephedrine ออกฤทธิกระตุน้ ประสาทส่ วนกลาง”
อุดมศักดิ เปลียนขํา ( : ) ได้กล่าวถึงยาบ้าหรื อ methamphetamine ว่าเป็ นยา
กระตุน้ ประสาทส่ วนกลาง ทําให้สมองตืนตัวอยูเ่ สมอ มีเรี ยวแรงไม่เหน็ดเหนือย การเสพติดจะทํา
ให้ร่างกายสร้างความเคยชินกับต่อยาพวกนี ผูเ้ สพจึงต้องการเพิมปริ มาณขึนทีละน้อย ใช้กนั ในหมู่ผู้
ทีต้องทํางาน และอดหลับอดนอนตรากตรําตอนกลางคืน หรื อผูท้ ีขับยวดยานพาหนะทางไกล และ
เคยใช้ก ันมาในหมู่ นัก เรี ย น นัก ศึ ก ษา เพราะทํา ให้ส มองตื นตัว อดนอนได้โ ดยไม่ง่ ว งนอนชัว
ขณะหนึ ง แต่จะทําให้ร่างกายทรุ ดโทรมลงทุกที อวัยวะต่างๆของร่ างกายไม่ได้พกั ผ่อนตามปกติ
เมือใช้นานๆฤทธิ ยาจะไปกดประสาททําให้สติฟันเฟื อน แปลภาพผิด และหลงผิด เป็ นอันตรายต่อ
การตัดสิ นใจ และสมองขาดการควบคุม อวัยวะทุกส่ วนถูกสังงานผิดพลาด จึงทําให้เกิดอุบตั ิเหตุได้
. ลักษณะทัวไปของยาบ้ า
ยาบ้ามีลกั ษณะทัวไปเป็ นเม็ดกลมแบบขนาดเล็ก มีสีต่างๆ เช่น สี ส้ม สี นาตาล ํ สี
ม่วง สี ชมพู สี เทา และสี เขียว มีลกั ษณะทีปรากฏบนเม็ดยาเช่น ฬ, M, PG, WY, สัญลักษณ์รูปดาว,
รู ปพระจันทร์เสี ยว, 99 หรื ออาจจะเป็ นลักษณะของเส้นแบ่งครึ งเม็ด ซึ งสัญลักษณ์เหล่านีอากปรากฎ
บนเม็ดยาด้านหนึงหรื อสองด้าน หรื ออาจเป็ นเม็ดเรี ยบทังสองด้านก็ได้ (รัตติยากร สําราญพิศ 2552)
ธี ระพล บุญธรรม (2546) กล่าวว่า ยาบ้าหรื อ methamphetamine มีส่วนประกอบ
สําคัญคือ caffeine และ amphetamine หรื อ methamphetamine ซึ งมีลกั ษณะเป็ นผงผลึกสี ขาว ไม่มี
กลิน รสขม มีฤทธิในการกระตุน้ ประสาทส่ วนกลาง จัดเป็ นยาเสพติดให้โทษประเภทที 1 มีชือเรี ยก
ทางการค้าเช่น เบนซีครี น เด็กซี ครี น ฟี รามีน เป็ นต้น แต่ในหมู่ผใู้ ช้หรื อผูเ้ สพมักรู้จกั กันว่า ยาม้า ยา
ขยัน ยาแก้ง่วง ยาโด๊ป ยาเพิมพลัง เป็ นต้น
7

2.3 วิธีการเสพยาบ้ า
วิธีการเสพยาบ้ามี วิธี มีดงั นี
2.3.1 กิน เป็ นวิธีดงเดิ
ั มทีใช้เสพจนปัจจุบนั
2.3.2 ต้นฉีดเข้าเส้น มักผสมยาเสพติดตัวอืน เช่น ผงขาว หรื อยากล่อมประสาท
2.3.3 สู บ โดยบดคลุกกับบุหรี สู บ
2.3.4 สู ดควันระเหย คล้ายคลึงกับวิธีสูบบุหรี แต่จะบดแล้วลนไฟโดยแบ่งเป็ น
2.3.4.1 สู บป้ องผ่านนํา เพือลดการระคายเคือง
2.3.4.2 ใส่ กระดาษฟรอยด์ เรี ยกว่า “เรื อ” แล้วลนไฟ จึงใช้หลอดกาแฟดูด
ควันทีระเหยออกมา เรี ยกว่า “จับมังกร” เป็ นวิธีทีนิยมแพร่ หลายในหมู่นกั เรี ยนทีเสพติดในปัจจุบนั
2.4 การออกฤทธิของยาบ้ า
ยาบ้าจะออกฤทธิ กระตุน้ ประสาท อาการเสพติดทังทางร่ างกายและจิตใจ โดยผู้
เสพในระยะแรกจะรู ้ สึกกระชุ่ มกระชวย กระฉับกระเฉง ร่ างกายตืนตัว มี พลังมากขึน เกิดความ
มันใจ หัวใจเต้นเร็ ว ความดันโลหิ ตสู ง ใจสัน ประสาทตึ งเครี ย ด แต่เมื อหมดฤทธิ ยาจะพูดมาก
ก้าวร้าว ยําคิดยําทํา กระวนกระวาย บางครังมีอาการประสาทหลอนทางสายตาหรื อทางหู จะรู้สึก
อ่อนเพลี ย มากกว่า ปกติ ประสาทล้า ทํา ให้ก ารตัดสิ นใจช้า และผิด พลาด หรื อในกรณี ที เสพใน
ปริ มาณมากๆ จะไปกดประสาทและระบบหายใจทําให้หมดสติ และถึงแก่ความตายได้
2.5 โทษของการเสพยาบ้ า
การเสพยาบ้าก่อให้เกิดโทษหลายประการดังนี
2.5.1 ผลทางจิตใจ เมือเสพยาบ้าเป็ นระยะเวลานานๆหรื อใช้เป็ นจํานวนมาก จะทํา
ให้ผูเ้ สพมีความผิดปกติทางด้านจิตใจ กลายเป็ นโรคจิตชนิ ดหวาดระแวง ส่ งผลให้มีพฤติกรรม
เปลียนแปลงไป เช่น เกิดอาการหวาดกลัว ประสาทหลอน ซึ งโรคนีหากเกิดขึนแล้ว อาการจะคงอยู่
ตลอดไป แม้ช่วงเวลาทีไม่ได้เสพยาก็ตาม
2.5.2 ผลทางระบบประสาท ในระยะแรกจะออกฤทธิ กระตุ ้นประสาท ทํา ให้
ประสาทตึงเครี ยด แต่เมือหมดฤทธิ ยาจะมีอาการประสาทล้า ทําให้การตัดสิ นใจเรื องต่างๆช้า และ
ผิดพลาด หากใช้ติดต่อกันเป็ นเวลานานจะทําให้สมองเสื อม หรื อกรณี ทีใช้ยาในปริ มาณมาก จะไป
กดประสาทและระบบหายใจทําให้หมดสติ และถึงแก่ความตายได้
2.5.3 ผลทางพฤติกรรม ฤทธิของยาจะกระตุน้ ประสาทส่ วนทีควบคุมความก้าวร้าว
และความกระวนกระวายใจ ดังนัน เมือเสพยาบ้าไปนานๆ จะก่อให้เกิดพฤติกรรมทีเปลียนแปลงไป
คือผูเ้ สพจะมีความก้าวร้าวเพิมขึนและหากถ้าใช้ต่อไปจะมีโอกาสเป็ นโรคจิตชนิ ดหวาดระแวง เกรง
ว่าจะมีคนมาทําร้ายตนเองจึงต้องทําร้ายผูอ้ ืนก่อน (สถานีตาํ รวจภูธร อุตรดิตถ์ 2552)
8

2.5.4 ผลทางกฎหมาย จัดเป็ นยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติยา


เสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522 สรุ ปข้อหาและบทลงโทษดังตาราง

ตารางที 1 ข้อหาและบทลงโทษของยาเสพติดให้โทษประเภทที 1
ข้อหา ยาเสพติดให้โทษประเภท
ผลิต นําเข้า ส่ งออก - จําคุกตลอดชีวติ (ม.65 ว.1)
- ถ้ากระทําเพือจําหน่าย ประหารชีวิต (ม.65 ว.2)
- คํานวณเป็ นสารบริ สุทธิ 20 กรัมขึนไป ถือว่ากระทําเพือจําหน่าย (ม.
15)
จําหน่าย ครอบครอง - คํานวณเป็ นสารบริ สุทธิไม่เกิน 100 กรัม จําคุก 5 ปี ถึงตลอดชีวติ
เพือจําหน่าย และปรับ 50,000 -500,000 บาท (ม.66 ว.1)
- คํานวณเป็ นสารบริ สุทธิ เกิน 100 กรัม จําคุกตลอดชีวติ หรื อประหาร
ชีวติ (ม.66 ว.2)
ครอบครอง - คํานวณเป็ นสารบริ สุทธิไม่ถึง 20 กรัม จําคุก 1-10 ปี และปรับ
10,000-100,000 บาท (ม.67)
- คํานวณเป็ นสารบริ สุทธิ 20 กรัมขึนไป ถือว่าครอบครองเพือ
จําหน่าย (ม.15)
เสพ - จําคุก 6 เดือน ถึง 10 ปี และปรับ 5,000– 100,000 บาท (ม.91)
ใช้อุบาย หลอกลวง ขู่ - จําคุก 2-20 ปี และปรับ 20,000 -200,000 บาท และถ้าเป็ นการ
เข็ญใช้กาํ ลังประทุษร้าย กระทําต่อหญิงหรื อบุคคลซึ ง ยังไม่บรรลุนิติภาวะระวางโทษประหาร
ให้ผอู้ ืนเสพ ชีวติ
- ถ้ากระทําโดยมีอาวุธหรื อร่ วมกัน 2 คนขึนไป จําคุก 4-30 ปี และ
ปรับ 40,000-300,000 บาท
ยุยงส่ งเสริ มให้ผอู ้ ืนเสพ - จําคุก 1-5 ปี และปรับ 10,000 – 50,000 บาท
ทีมา: สถานีตาํ รวจภูธรจักราช นครราชสี มา, ผลทางกฎหมายครอบครองยาเสพติด [ออนไลน์],
เข้าถึงเมือ กุมภาพันธ์ . เข้าถึงได้จาก http://chakkarat.nmpp.go.th/web/law_detail.php?
law_id=
9

. องค์ ประกอบของยาบ้ า
ยาบ้าเป็ นชื อทีใช้เรี ยกยาเสพติดทีมี ส่วนผสมของสารเคมีประเภทแอมเฟตามี น
(amphetamine) เป็ นยาประเภทกระตุน้ ระบบประสาททําให้ไม่ง่วงนอน สารประเภทนีแพร่ ระบาด
อยู่ 3 รู ป แบบด้ว ยกัน คื อ แอมเฟตามี น ซัล เฟต (amphetamine sulfate) เมทแอมเฟตามี น
(methamphetamine) และเมทแอมเฟตามีนไฮโดรคลอไรด์ (methamphetamine hydrochloride) ซึ ง
จากการพิสู จน์ย าบ้า ปั จจุ บนั ที พบอยู่ในประเทศไทยมักพบว่า เกื อบทังหมดมี เมทแอมเฟตามี น
ไฮโดรคลอไรด์ ผสมอยู่ โครงสร้างของเมทแอมเฟตามีนต่างจากโครงสร้างของแอมเฟตามีน โดย
เมทแอมเฟตามีนจะมีหมู่ –CH3 แทนที –H บนหมู่ –NH2 สารเมทแอมเฟตามีนพบถึงร้อยละ 95.5
ของตัวอย่างยาบ้า 335 ตัวอย่างทีสุ่ มมาตรวจ โดยมีเมทแอมเฟตามีนเฉลีย 17.2 ±5.1 mg / เม็ด
รองลงมาพบสารคาเฟอีน (caffeine) เป็ นส่ วนประกอบถึงร้อยละ 91 ของตัวอย่างทีนํามาตรวจ โดย
ส่ วนใหญ่ (ร้อยละ67.5) มีประมาณคาเฟอีนอยูร่ ะหว่าง 45-60 mg / เม็ด นอกจากนีอาจมีสารอีเฟด
รี น (ephedrine) เป็ นส่ วนประกอบ ในบางเม็ดมี เพียง 3 ตัวอย่างจาก 386 ตัวอย่า งของยาบ้าที มี
เฮโรอีนผสมอยูป่ ระมาณ 1.1 , 1.5 , และ 2.3 mg (Palanuvej et.al 1997 : 73 – 80)

3. โครงสร้ างทางเคมีและคุณสมบัติทางเคมีของสารประกอบในยาบ้ า
โดยส่ วนใหญ่เมือวิเคราะห์หาสารเสพติดจากเม็ดยา พบว่าประกอบด้วยสารทีสําคัญคือ
แอมเฟตามีน, คาเฟอีน, อีเฟดรี น และเมทแอมเฟตามีน ซึ งมีสูตรโครงสร้างโมเลกุลและคุณสมบัติ
ทางเคมีดงั นี
. แอมเฟตามีน (amphetamine)

ตารางที 2 คุณสมบัติทางเคมีของแอมเฟตามีน
ชือสารเคมีในระบบ IUPAC (±)-1-phenylpropan-2-amine
สู ตรเคมี C9H13N
โครงสร้ างทางเคมี

นําหนักโมเลกุล 135.2084 g/mol


10

ตารางที 2 (ต่อ)
ชือพ้อง (±) -alpha-methylbenzeneethanamine
alpha-methylphenethylamine
beta-phenyl-isopropylamine

จุดหลอมเหลว 285–281 °C
สภาพละลายในนํา 50–100 mg/mL (16C°)
ครึงชีวติ 12h average for d-isomer, 13h for l-isomer
ทีมา: Amphetamine [Online], accessed 28 February 2011. Available from http://en.wikipedia.org/
wiki/Amphetamine

3.2 เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine)

ตารางที 3 คุณสมบัติทางเคมีของเมทแอมเฟตามีน
ชือสารเคมีในระบบ IUPAC N-methyl-1-phenylpropan-2-amine
สู ตรเคมี C10H15N
โครงสร้ างทางเคมี

นําหนักโมเลกุล 149.233 g/mol


ชือพ้อง Desoxyephedrine , Pervitin , Anadrex , Methedrine
Methylamphetamine , Syndrox , Desoxyn
จุดหลอมเหลว 172-174 °C
สภาพละลายในนํา 1 in 2 of water , 1 in 4 of ethanol , and 1 in 5 of chloroform ;
practically insoluble in ether
ครึงชีวติ 9–12 hours
ทีมา: Methamphetamine [Online], accessed 28 February 2011. Available from http://en.
wikipedia.org/wiki/Methamphetamine
11

3.3 คาเฟอีน ( caffeine )

ตารางที 4 คุณสมบัติทางเคมีของคาเฟอีน
ชือสารเคมีในระบบ IUPAC 1,3,7-trimethyl-1H-purine-2,6(3H,7H)-dione
3,7-dihydro-1,3,7-trimethyl-1H-purine-2,6-dione
สู ตรเคมี C8H10N4O2
โครงสร้ างทางเคมี

นําหนักโมเลกุล 194.19 g/mol


ชือพ้อง 1,3,7-trimethylxanthine , trimethylxanthine ,
methyltheobromine , 7-methyltheophylline , theine ,
mateine , guaranine
จุดหลอมเหลว 227–228 °C (anhydrous) ; 234–235 °C (monohydrate)
สภาพละลายนํา 2.17 g/100 ml (25 °C) , 18.0 g/100 ml (80 °C) , 67.0 g/100 ml
(100 °C)
จุดเดือด 178 °C
ทีมา: Caffeine [Online], accessed February . Available from http://en.wikipedia.org
/wiki/Caffeine
12

3.4 อีเฟดริน (ephedrine)

ตารางที 5 คุณสมบัติทางเคมีของอีเฟดริ น
ชือสารเคมีในระบบ IUPAC (R*,S*)-2-(methylamino)-1-phenylpropan-1-ol
สู ตรเคมี C10H15NO
โครงสร้ างทางเคมี

นําหนักโมเลกุล 165.23 g/mol


ชือพ้อง (-)-Ephedrine; Benzenemethanol ,
alpha-[1-(methylamino)ethyl]-, [R-(R*,S*)]-; (1R,2S)-(-)-
Ephedrine ; L-alpha-(1-Methylaminoethyl)benzyl alcohol
จุดหลอมเหลว 39.0 °C
สภาพละลายในนํา ละลายได้ดี
ครึงชีวติ 3–6 hours
ทีมา: Ephedrine [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ กุมภาพันธ์ 2554. เข้าถึงได้จาก http://msds.pcd.go.th/
searchName.asp?vID=545

จากสู ตรโครงสร้างจะสังเกตเห็นเป็ นลักษณะของ phenyl amine เหมือนกัน (ภาพที


1) แตกต่างกันที side chain บางจุดเช่น methamphetamine และ ephedrine จะต่างกันเฉพาะกลุ่ม
hydroxyl ทําสามารถเปลียน ephedrine เป็ น methamphetamine ได้ดว้ ยปฏิกิริยาง่ายๆ (ภาพที 2)
ดัง นัน ephedrine จึ ง เป็ นสารตังต้น (precursor)ที สํา คัญ ในการผลิ ต methamphetamine ซึ ง
methamphetamine จะมีอยู่ 2 isomer คือ D-methamphetamine และ L-methamphetamine ซึ ง
ลักษณะของ D-methamphetamine เป็ นแบบทีพบ เห็นและเป็ นแบบทีออกฤทธิต่อระบบประสาท
13

ภาพที ลักษณะโครงสร้างของ sympathomimetic amines


ทีมา: Sympathomimetic amines [Online], accessed March 2011. Available from http://upload.
wikimedia.org/wikipedia/commons/thumb/ / /Methamphetamines.
14

ภาพที ปฏิกิริยาการเปลียน ephedrine เป็ น methamphetamine


ทีมา: Methamphetamine from ephedrine via chloroephedrine [Online], accessed March 2011.
Available from http://wiki.xingyimax.com/?title=Substituted_amphetamine

4. ประวัติความเป็ นมาของแอมเฟตามีน
แอมเฟตามีนถูกสังเคราะห์มาครังแรกสําหรับใช้รักษาทางการแพทย์ สามารถใช้ได้อย่าง
ถูกกฎหมายเพือรักษาอาการผิดปกติหลายอย่าง และภาวะผิดปกติทางด้านจิตใจ เช่น โรคเหงาหลับ
ภาวะขาดสมาธิ และภาวะซึ มเศร้า amphetamine sulfate ในรู ปของ racemate form (เป็ นรู ปแบบที
โครงสร้างของโมเลกุลบิดเบนระนาบแสงแบบผสม) ถูกสังเคราะห์มาเป็ นตัวแรกในปี ค.ศ.
โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวเยอรมันชือ เอเดเลียโน (Edeleno) ในรู ปของ amphetamine sulfate ต่อมาใน
ปี ค.ศ. นักวิทยาศาสตร์ ชาวญีปุ่ นก็สามารถสังเคราะห์อนุพนั ธ์ของแอมเฟตามีนได้อีกตัวหนึ ง
คือ เมทแอมเฟตามีน (methamphetamine) ซึ งมีผลต่อระบบประสาทส่ วนกลางได้รุนแรงกว่าแอมเฟ
ตามีน แอมเฟตามีนถูกนํามาใช้รักษาในปี ค.ศ. ในรู ปแบบยานัตถ์ ทีสามารถหาซื อกันได้ตาม
ร้านค้าสําหรับรักษาอาการคัดจมูกและอาการหอบ ในปี ค.ศ. แอมเฟตามีนซัลเฟต ในรู ปยาเม็ด
ผลิตขึนเพือรักษาโรคเหงาหลับ (narcolepsy) อาการ parkinsonism ทีเกิดขึนหลังจากภาวะเยือหุ ้ม
สมองอักเสบ อาการซึ มเศร้ า และอาการอ่อนปวกเปี ยกไม่มีเรี ยวแรง (lethalgy) ในปี กว่าๆ
ปั จจัยต่างๆทางสังคมและกฎระเบียบเริ มเข้ามาหยุดยังการกระจายตัวอย่างแพร่ หลายของแอมเฟตา
มีน ข้อบ่งใช้ของ แมเฟตามีนทีเหลืออยูจ่ ึงถูกจํากัดอยูแ่ ค่รักษาอาการขาดสมาธิ และการอยูน่ ิงไม่ได้
(attention-deficit/hyperactivity) โรคเหงาหลับและอาการซึมเศร้า (สารานุกรมเสรี )
ในสมัย สงครามโลกครั งที สองเมทแอมเฟตามี นใช้ก ระตุ ้นความกล้าหาญและความ
อดทนของทหารทังสองฝ่ าย โดยประมาณกันว่ามีการใช้ยาบ้ากว่า 72 ล้านเม็ดระหว่างสงครามโลก
ครังทีสอง แม้กระทังฮิตเลอร์ ก็ฉีดยาบ้าแทบทุกวัน หลังสงครามการใช้ยาบ้าก็เริ มแพร่ ขยายออก
ไปสู่ สังคม สาเหตุทีเรี ยกว่ายาม้าเนืองจากทําให้ผใู้ ช้ยาคึกคะนองเหมือนม้า อย่างไรก็ตามการเปลียน
มาเรี ยกยาบ้าก็เพือจะเห็นความเป็ นพิษของยา (สารานุกรมเสรี 2552)
15

แอมเฟตามีนตัวสําคัญทีใช้กนั อยูป่ ั จจุบนั ได้แก่ dexamphetamine , methamphetamine


และmethylphenidate ยาเหล่านีมีชือเรี ยกในหมู่คนเสพว่า “ice”, “crystal”, “crystal meth” และ
“speed” เมือจัดเป็ นกลุ่ มตามที แบ่งทัวๆ ไปแล้ว แอมเฟตามี นจัดอยู่ใ นกลุ่ม sympathomimetic,
stimulants (สารทีมีฤทธิกระตุน้ ) และ psychostimulants (สารทีมีฤทธิกระตุน้ จิตใจ) (สารานุกรมเสรี
2552)

5. การสั งเคราะห์ methamphetamine


เมทแอมเฟตามีนได้ถูกสังเคราะห์ขึนเป็ นครังแรกจาก ephedrine ในประเทศญีปุ่ นในปี
ค.ศ. 1893 โดยนักเคมีชาวญีปุ่ นชือ Nagai Nagayoshi และในปี ค.ศ. 1919 ผลึกของเมทแอมเฟตามีน
ได้ถูกสังเคราะห์โดย Akira Ogata ผ่านปฏิกิริยา reduction ของ ephedrine โดยใช้ red phosphorus
และ Iodine โดยวิธีทีใช้ในการสังเคราะห์ methamphetamine นันมีอยูด่ ว้ ยกันหลายวิธีดงั แสดงใน
ภาพที 3

ภาพที most common synthesis routes of clandestinely manufactured methamphetamine


ทีมา : synthesis methamphetamine via ephedrine [Online], accessed March 2011. Available
from http://grownasspeople.blogspot.com/ / /on-pseudoephedrine.html
16

6. กฎหมายและบทกําหนดโทษทีเกียวกับเมทแอมเฟตามีน
“กฎหมายเกียวกับยาเสพติด” หมายความว่า กฎหมายว่าด้วยยาเสพติดให้โทษ กฎหมาย
ว่าด้วยวัตถุออกฤทธิ ต่อจิตและประสาท กฎหมายว่าด้วยการป้ องกันการใช้สารระเหยและกฎหมาย
ว่าด้วยมาตรการในการปราบปรามผูก้ ระทําความผิดเกียวกับยาเสพติด
เมทแอมเฟตามีนจัดว่าเป็ นวัตถุออกฤทธิ ต่อจิตและประสาทแล้ว ยังจัดว่าเป็ นยาเสพติด
ประเภท 1 ตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2534 (ฉบับที 2) อีก
ด้วย การแบ่งประเภทยาเสพติดให้โทษนี แบ่งตามกฎหมายทีเกียวข้องว่าเป็ นยาเสพติดตามกฎหมาย
ใด แบ่งเป็ น 3 ประเภทคือ
1. ยาเสพติดให้โทษตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
2. วัตถุ ออกฤทธิ ต่อจิ ตและประสาท ตามพระราชบัญญัติวตั ถุ ทีออกฤทธิ ต่อจิตและ
ประสาท พ.ศ. 2518
3. สารระเหย ตามพระราชกําหนดป้ องกันการใช้สารระเหย พ.ศ. 2533
พระราชบัญญติยาเสพติดให้ โทษ พ.ศ. 2522 มาตรา 4
“ยาเสพติดให้โทษ” หมายความว่า สารเคมีหรื อวัตถุใดๆ ซึ งเมือเสพเข้าสู่ ร่ากายไม่วา่ จะ
โดยรับประทาน ดม สู บ ฉี ด หรื อด้วยประการใดๆ แล้วทําให้เกิดผลต่อร่ างกายและจิตใจในลักษณะ
สําคัญ เช่น ต้องการเพิมขนานการเสพขึนเป็ นลําดับ มีอาการถอนยาเมือขาดยา มีความต้องการเสพ
ทังทางร่ างกาย และจิตใจอย่างรุ นแรงตลอดเวลาและสุ ขภาพโดยทัวไปจะทรุ ดโทรมลง กับให้รวม
ตลอดถึงพืชหรื อส่ วนของพืชทีเป็ นหรื อให้ผลผลิตเป็ นยาเสพติดให้โทษ หรื ออาจใช้ผลิตเป็ นยาเสพ
ติดให้โทษและสารเคมีทีใช้ในการผลิตยาเสพติดให้โทษด้วย ทังนี ตามทีรัฐมนตรี ประกาศในราช
กิจจานุ เบกษา แต่ไม่หมายความถึงยาสามัญประจําบ้านบางตํารับ ตามกฎหมายว่าด้วยยาทีมียาเสพ
ติดให้โทษผสมอยู่
“เสพ” หมายความว่า การรับยาเสพติดให้โทษเข้าสู่ ร่างกายไม่วา่ ด้วยวิธีใด
“ติดยาเสพติด” หมายความว่า เสพเป็ นประจําติดต่อกันและตกอยูใ่ นสภาพทีจําเป็ นต้อง
พึงยาเสพติดให้โทษนัน โดยสามารถตรวจพบสภาพเช่นว่านันได้ตามหลักวิชาการ
“การบําบัด” หมายความว่า การบําบัดรักษาผูต้ ิดยาเสพติดให้โทษ ซึ งรวมตลอดถึงการ
ฟื นฟูสมรรถภาพ และการติดตามผลหลังการบําบัดรักษาด้วย
การทีจะพิจารณาได้ว่าเมทแอมเฟตามี นนันเป็ นยาเสพติดให้โทษประเภทใดนัน ก็พิจารณาตาม
ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบับที 135 (พ.ศ. 2539) เรื อง ระบุชือและประเภทยาเสพติดให้โทษ
ตามพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ พ.ศ. 2522
17

ตารางที 6 ยาเสพติดให้โทษประเภท 1 ตามบัญชีทา้ ยประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข ฉบับที 135


. Acetorphine . Acetyl-alpha-methylfentanyl
. Alpha-methylfentanyl 4. Alpha-methylthiofentanyl
. Amphetamine 6. Beta-hydroxy-3- methylfentanyl
. Beta-hydroxyfentanyl 8. Desomorphine
. Dexamphetamine 10. 2,5-dimethoxy-4-ethylamphetamine , DOET
. Dimethoxyamphetamine ,DMA 12. Dimethoxybromoamphetamine ,DOB
. Etorphine 14. Heroin
15. Ketobemidone 16. Levamphetamine
17. Levomethamphetamine 18. (+)-Lysergide
19. Mecloqualone 20. Methamphetamine
21. Methaqualone 22. 5-Methoxy-3,4-
methylenedioxyamphetamine,MMDA
23. Methylenedioxyamphetamine 24. 3,4-methylenedioxy methamphetamine
25. 3-methylfentanyl 26. methylthiofentanyl
27. MPPP 28. Para-fluorofentanyl
29. para-methoxyamphetamine ,PMA 30. PEPAP
31. Thiofentanyl 32. Trimethoxyamphetamine , TMA

ทังนีให้รวมถึงวัตถุทีเรี ยกชื อเป็ นอย่างอืน แต่มีสูตรโครงสร้างทางเคมีอย่างเดียวกันกับ


ยาเสพติดให้โทษดังกล่าว ไอโซเมอร์ใดๆ ของยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และประเภท 2 ยกเว้นไอ
โซเมอร์ อืนของยาเสพติดให้โทษทีได้ระบุตวั ไอโซเมอร์ นนั เป็ นยาเสพติดให้โทษไว้แล้ว เป็ นการ
เฉพาะเอสเทอร์และอีเทอร์ใดๆ ของยาเสพติดประเภท 1 และประเภท 2 ยกเว้นตัวทีได้ระบุวา่ เป็ นยา
เสพติดให้โทษแล้วเป็ นการเฉพาะเกลือใดๆ ของยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และประเภท 2 เอส
เทอร์ และอีเทอร์ ของยาเสพติดให้โทษประเภท 1 และประเภท 2 ทังนี ไม่วา่ จะมีความเข้มข้นใด
หรื อในไปใช้เพือการใด เว้นแต่จะมีการระบุความเขมข้นหรื อเงือนไขไว้เป็ นการเฉพาะ มาตรา 57
ห้ามมิให้ผใู้ ดเสพยาเสพติดให้โทษประเภท 1 หรื อประเภท 5
18

บทกําหนดโทษทีเกียวข้ องกับผู้มีเสพยาเมทแอมเฟตามีนตามพระราชบัญญัติ ยาเสพติด


ให้ โทษ พ.ศ. 2522
มาตรา 91 ผูใ้ ดเสพยาเสพติดให้โทษประเภท 1 อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 57 หรื อ ยาเสพ
ติดให้โทษประเภท 2 อันเป็ นการฝ่ าฝื นมาตรา 58 ต้องระวางโทษจําคุกตังแต่หกเดือนถึงสิ บปี และ
ปรับตังแต่หา้ พันบาทถึงหนึงแสนบาท

7. การตรวจพิสูจน์ methamphetamine
การตรวจพิสูจน์เมทแอมเฟตามีนมีหลักการคือ คุณภาพ และปริ มาณวิเคราะห์ เป็ นการ
ตรวจเพือหาเอกลักษณ์จะได้ทราบว่าเป็ นยาเสพติดหรื อไม่ และเป็ นยาเสพติดชนิ ดใด และมีนาหนั
ํ ก
สารบริ สุทธิเท่าใด (อรรถพล แช่มสุ วรรณวงศ์ และคณะ 2546: 266-267)
การวิเคราะห์ตรวจหาเมทแอมเฟตามีนมีหลายเทคนิ ค โดยการวิเคราะห์ทางคุ ณภาพ
และปริ มาณ ได้แก่เทคนิ ค Color Immunochromatographic Assay (CICA Technique) (Coretests
2552), Therapeutic drugs mornitoring analysis (TDx) (ธิ ติ มหาเจริ ญ 2546: 26), Gas
Chromatography-Flam ionization Detector (GC-FID) (Mitrevski et.al 2005: 11-21, Phonchai et.al
2007: 1-14), Hight-Performance Liquid Chromatography (HPLC) (ธิ ติ มหาเจริ ญ 2546: 27) เป็ น
ต้น ซึ งในปั จจุ บนั นี ในประเทศไทยส่ วนใหญ่ใช้เทคนิ ค Gas Chromatography-Flam ionization
Detector (GC-FID) ในการวิเคราะห์ตรวจหา methamphetamine

. หลักการพืนฐานของเครืองมือทีใช้ ในการวิเคราะห์
8.1 หลักการของเทคนิค gas chromatography (GC)
โครมาโทกราฟฟี เป็ นเทคนิ คการแยกของผสมออกจากกัน รวมทังระบุชนิ ดของ
สารและจํานวนของสารองค์ประกอบทีมีในของผสม สําหรับกระบวนการทางโครมาโทกราฟฟี นี
โมเลกุลของตัวถูกละลายหรื อสารทีสนใจกระจายตัวอยูร่ ะหว่างเฟส 2 เฟส ซึ งไม่ละลายซึ งกันและ
กัน โดยเฟสหนึ งจะเคลือนที เรี ยกว่า mobile phase และอีกเฟสหนึ งอยู่กบั ที เรี ยกว่า stationary
phase
gas chromatography (GC) เป็ นเทคนิ คการแยกสารพวกทีมี polarity ตํา (สารที
สามารถเปลียนให้เป็ นแก๊สเฟสทีอุณหภูมิหนึ ง ไม่เกิน 450°C) เมือสารนันถูกเปลียนให้อยูใ่ นแก๊ส
เฟสแล้วโดยใช้ carrier gas เป็ น mobile phase และใช้ nonvolatile liquid หรื อ solid เป็ น stationary
19

phase เทคนิค GC ใช้หลัก partition และ adsorption ในการแยกสารออกจากกัน นอกจากนีเทคนิคนี


ยังมีความสามารถในการวิเคราะห์ได้ทงในทางปริ
ั มาณ (quantitative) และทางคุณภาพ (qualitative)
8.1.1 องค์ ประกอบทีสํ าคัญของเครือง gas chromatography (GC)

ภาพที 4 องค์ประกอบทีสําคัญของเครื องแก๊สโครมาโทกราฟฟี (GC)


ทีมา: gas chromatography [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 8 มีนาคม พ.ศ.2554. เข้าถึงได้จาก http://www.
kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html

8.1.1.1 แก๊ สพา (carrier gas) เป็ นแก๊สทีใช้สําหรับพาสารตัวอย่างทีถูกทํา


ให้เป็ นไอหรื อแก๊สเฟสแล้วที injector port ให้เข้าสู่ column ต่อไปแก๊สพานีจะต้องมีการควบคุม
อัตราการไหล (flow rate) ให้คงทีเสมอ โดยสามารถเลือกใช้อตั ราการไหลให้เหมาะสมตามต้องการ
อัตราการไหลของแก๊สพามีความสําคัญต่อการวิเคราะห์ทงเชิ ั งคุณภาพ และเชิ งปริ มาณ ดังนันจึงมี
ความจําเป็ นทีต้องควบคุมให้คงที แก๊สพาทีนิ ยมใช้ทวไปได้ั แก่ แก๊สไนโตรเจน แก๊สฮีเลี ยม หรื อ
แก๊สไฮโดรเจน ซึ งควรมีลกั ษณะดังนี เช่น มีสมบัติเฉือย เพือป้ องกันการทําปฏิกิริยากับสารตัวอย่าง
หรื อตัวทําละลาย หรื อเฟสคงที และเป็ นแก๊สทีมีการแพร่ นอ้ ย มวลโมเลกุลตํา นอกจากนีควรจะหา
ได้ง่าย ความบริ สุทธิ สู ง ราคาไม่แพง และมีความเหมาะสมกับดีเทคเตอร์ทีใช้
8.1.1.2 ระบบของการใส่ สารตัวอย่ าง (sample inlet system) การนําสาร
ตัวอย่างฉี ดเข้าไปในเครื อง GC เพือวิเคราะห์ชนิดของสารตัวอย่าง เช่น เป็ นแก๊ส ของเหลว ของแข็ง
ถ้าเป็ นของเหลวหรื อของแข็งสารนันระเหยยากหรื อง่าย คอลัมน์ทีใช้เป็ นอะไร เช่น packed column
20

หรื อ capillary column การเลื อกใช้แต่ละวิธีจะแตกต่างกันออกไปเพือให้การทํางานตรงตาม


วัต ถุ ป ระสงค์ แ ละมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ โดยทัวไปส่ ว นที ฉี ด สารตัว อย่ า งเข้า ไป (inlet) จะมี
เครื องให้ความร้อน(heater) ประกอบอยู่ดว้ ย เพือให้สารตัวอย่างกลายเป็ นไอซึ งระบบของการใส่
สารตัวอย่างจะขึนอยูก่ บั สถานะของสารตัวอย่างดังนีคือ
1. gas sample inlet โดยทัวไปตัวอย่างทีเป็ นแก๊สมักจะฉี ดเข้าไปด้วย gas-tight syringes
แต่วิธีทีดีทีสุ ดคือใช้ gas sampling valve แก๊สตัวอย่างจะถูกฉี ดเข้าไปแล้วเก็บไว้ใน loop เมือหมุน
sampling valve แก๊สตัวอย่างจะถูกฉีดเข้าไปในคอลัมน์
2. liquid sample inlet สารตัวอย่างทีเป็ นของเหลวโดยมากจะใช้ microsyringe ฉี ดเข้าไป
ที silicone septum ไปยังปลายของคอลัมน์ หรื ออาจฉี ดเข้าไปที flash vaporizer สารตัวอย่างจะถูก
เปลียนให้เป็ นไอด้วยความร้อนจาก heater block โดยทัวไป อุณหภูมิของ injector port ควรสู ง
พอทีจะทําให้สารกลายเป็ นไอแต่ตอ้ งตํากว่าอุณหภูมิจาํ กัดของลิควิดเฟสทีใช้ในคอลัมน์และไม่ควร
สู งเกินไป เพราะจะทําให้ลิควิดเฟสระเหยออกไปหรื อเกิดการสลายตัว ซึ งจะทําให้เกิด base line ไม่
คงที
3. สารตัวอย่างทีเป็ นของแข็ง (solid sample) การวิเคราะห์ตวั อย่างทีเป็ นของแข็งด้วย
เทคนิ ค GC นัน กระทําได้ค่อนข้างยากกว่าสารตัวอย่างที เป็ นแก๊สหรื อของเหลว เพราะต้องใช้
อุณหภูมิในการเปลียนให้กลายเป็ นไอสู งกว่า ซึ งสามารถทําได้โดยนําสารตัวอย่างทีเป็ นของแข็งไป
ละลายในตัวทําละลายเสี ยก่อน หรื ออาจใช้อุปกรณ์ทีสามารถเปลียนสารทีเป็ นของแข็งให้กลายเป็ น
แก๊ส (pyrolysis equipment) โดยเผาทีอุณหภูมิสูงๆ เมือเปลียนเป็ นแก๊สแล้วจึงนําเข้าเครื อง GC
ต่อไป
4. headspace analysis ในกรณี ทีสารตัวอย่างเป็ นของแข็งหรื อของเหลว โดยทีมีสารที
ระเหยได้และสารทีระเหยไม่ได้ ถ้าต้องการทีจะหาส่ วนทีระเหยได้สามารถทําได้โดยใช้ headspace
technique ซึ งต่างจากเทคนิ ค GC ทัวไปทีการใช้ sample inlet เท่านัน โดยการนําสารทีเป็ นไอซึ งอยู่
เหนือส่ วนทีไม่ระเหยทีเป็ นของแข็งหรื อของเหลวฉีดเข้าเครื อง GC ต่อไป
สํ าหรับการวิเคราะห์ สารตัวอย่างทีเป็ นของเหลวสามารถวิเคราะห์ ได้ ดังนีคือ
1. split injection เนืองจากเป็ นการยากทีจะฉี กสารจํานวนน้อยๆ (0.001-0.5μL) เข้าไป
ใน capillary column จึงทําให้ระบบนีได้ถูกพัฒนาขึน โดยสารทีฉี ดเข้าไปถูกเปลียนให้เป็ นไอและ
ไอของสารจะมีการผสมกันก่อนทีจะถึงจุดแบ่งแยกสารตัวอย่าง ทีจุดนีไอของสารตัวอย่างส่ วนน้อย
และปริ ม าณที แน่ นอนจะเข้า คอลัม น์ แต่ ส่ วนใหญ่ จะถู ก ระบายออกไป โดยส่ วนที เข้าคอลัม น์
คํานวณได้จาก split ratio ดังสมการ
21

split ratio = ส่ วนทีระบายออกไป


ส่ วนทีเข้าคอลัมน์
2. splitless injection เป็ นเทคนิคทีมีประโยชน์มากในการวิเคราะห์สารทีมีปริ มาณน้อยๆ
(trace analysis) โดยทีสารตัวอย่างจะถูกทําให้เจือจางด้วยตัวทําละลายแล้วสารตัวอย่างทังหมดจะ
ถูกฉี ดเข้าสู่ คอลัมน์ การใช้เทคนิคนีให้ความถูกต้องดี แต่ตอ้ งใช้เวลาและยุง่ ยาก
8.1.1.3 คอลัมน์ (column) คอลัมน์ถือเป็ นหัวใจหลักของการสารด้วยเทคนิค
GC เมือแก๊สผสมหรื อไอของสารทีปนกันอยูใ่ นสารตัวอย่างผ่านคอลัมน์สารทีบรรจุอยู่ในคอลัมน์
จะทําหน้าที เป็ นตัวแยกแก๊สหรื อไอผสมเหล่ านันออกเป็ นส่ วนๆ ดังนันโครมาโทแกรมทีได้จึง
ขึนอยูก่ บั คอลัมน์ ประเภทของคอลัมน์ (type of column) โดยทัวไปมี 2 ประเภทคือ
1. packed column มีอยู่ 2 ชนิดคือ patition column และ adsorption column สําหรับ
patition column เป็ นคอลัมน์เปล่าทีบรรจุด้วยอนุ ภาคของแข็งที มีคุณสมบัติเฉื อย (inert solid
particles) แล้วฉาบด้วยสารอินทรี ยบ์ างชนิดทีเรี ยกว่า liquid phase ในส่ วนของ adsorption column
เป็ นคอลัมน์ทีบรรจุดว้ ยอนุ ภาคของสารดูดซับ (adsorption particles) เช่น alumina , activated
charcoal , silica gel หรื อ molecular sieves เป็ นต้น
2. capillary column คอลัมน์ชนิ ดนี มีลกั ษณะเป็ นหลอดเล็กๆ ทําด้วยเหล็กกล้าหรื อ
เหล็กไร้สนิมแก้ว quartz (fused silica) รัศมียาว 0.3-0.6 mm ภายในแบด้วย liquid phase เป็ นฟิ ล์ม
บางๆตลอดรู เล็กๆ ซึ งอาจมีความยาว 25-100 m คอลัมน์ชนิดนีถึงแม้จะมีประสิ ทธิ ภาพต่อหน่วย
ความยาวค่อนข้างตํา แต่เมือใช้คอลัมน์ทีมีความยาวมากๆ จะทําให้ประสิ ทธิ ภาพในการแยกสู ง และ
เมือใช้ในสภาวะทีเหมาะสมแล้ว capillary column จะมีประสิ ทธิภาพในการแยกทีดีทีสุ ด
8.1.1.4 เตาอบ (oven) เป็ นส่ วนทีใช้บรรจุคอลัมน์เอาไว้ และเป็ นส่ วนที
ควบคุมอุณหภูมิของคอลัมน์ให้เปลียนไปตามความเหมาะสมกับสารทีถูกฉี ด ซึ งอุณหภูมิของ oven
นันจะสามารถปรับเปลียนได้ 2 แบบคือ isocratic temperature และ gradient temperature แล้วแต่
ความต้องการของผูว้ ิเคราะห์ ข้อดีของการทํา gradient temperature คือ สามารถใช้กบั สารทีมีจุด
เดือดกว้าง และยังช่วยลดเวลาในการวิเคราะห์ลงได้อีกด้วย
8.1.1.5 เครื องดี เ ทคเตอร์ (detectors) คื อส่ ว นที ใช้สํ า หรั บ ตรวจวัด
องค์ประกอบที มี อยู่ในสารตัวอย่าง และดูว่าสารตัวอย่างทีเราสนใจมี ปริ มาณอยู่เท่าใด ซึ งจะให้
รายละเอียดของโครมาโทแกรม ข้อมูลของพีค (พืนที ความสู ง ความกว้าง เป็ นต้น ) การสอบเทียบ
การคํา นวณ การายงานผล และสถิ ติ เครื องตรวจวัดมี ห ลายประเภท แต่ล ะประเภทมี ล ัก ษณะ
เฉพาะตัวแปรในการทํางาน และประสิ ทธิ ภาพทีแตกต่างกันออกไป เครื องตรวจวัดจะต้องรักษา
อุณหภูมิให้สูงกว่าอุณหภูมิของตูอ้ บไม่เกิ น 15 องศาเซลเซี ยส ทังนี เพือป้ องกันไม่ให้ตวั อย่างเกิด
22

การควบแน่ น ตรงบริ เ วณท่ อ หรื อ เครื องตรวจวัด ซึ งจะมี ผ ลให้ เ กิ ด สั ญ ญาณรบกวนและลด


ประสิ ทธิ ภาพในการตอบสนองของเครื องตรวจวัดได้ ดีเทคเตอร์ ทีใช้ในการตรวจหาสารในเครื อง
GC ควรมีลกั ษณะเฉพาะในการตอบสนองต่อสารเคมีทีต้องการวิเคราะห์ดงั ต่อไปนีคือ ควรจะต้อง
ให้สภาพไวสู ง (hight sensitivity) และควรมีความเฉพาะต่อการตรวจหาสาร (selectivity)

ภาพที detector ชนิด flame ionization detector (FID)


ทีมา: Flame Ionization Detector [Online], accessed March 2011. Available from http://
www.equipcoservices.com/support/tutorials/introduction-to-flame-ionization/

8.1.2 การวิเคราะห์ สารตัวอย่างโดยเทคนิค GC


การวิเคราะห์สารตัวอย่างโดยเทคนิค GC นันคือเมือเลือกสภาวะต่างๆของ
การวิเคราะห์และจัดสภาวะของเครื อง GC ให้เรี ยบร้อยแล้ว จึงนําสารตัวอย่างไปฉี ดเข้าที sample
injection port สารจะกลายเป็ นไอ และถูกพาเข้าไปในคอลัมน์ดว้ ยแก๊สพา (carrier gas) อย่างช้าๆ
สารผสมจะถู กแยกออกเป็ นส่ วนๆ ทีคอลัมน์นี แล้วออกไปสู่ ดีเทคเตอร์ (detector) จะทําให้ได้
สัญญาณเกิ ดขึนซึ งสามารถเขี ยนออกมาเป็ นโครมาโทแกรมด้วยเครื อง recorder หรื อต่อเข้ากับ
เครื อง printer หรื อ integrator ก็จะทําให้ผวู้ ิเคราะห์สามารถทราบองค์ประกอบของสารตัวนันได้
(อมรสิ ทธิ แม้น และคณะ 2539: 812)
23

การวิเคราะห์ เชิ งคุณภาพ


1. retention time หมายถึ ง เวลาทีสารแต่ล ะชนิ ดใช้ผ่า นคอลัมน์จาก
จุดเริ มต้นถึ งจุ ดสู งสุ ดของพีค โดย retention time เป็ นคุณสมบัติเฉพาะของสารในสภาวะการ
วิเคราะห์เดียวกัน ทังชนิ ดของ column และอุณหภูมิทีใช้ ค่า retention time ของสารชนิ ดเดียวกันที
วิเคราะห์ได้ควรจะต้องคงที หรื อมีค่ าใกล้เคียงกันมากทีสุ ด ดังนันการตรวจพิสูจน์ ชนิ ดของสาร
องค์ประกอบใดๆในของผสมตัวอย่างสามารถทําได้โดยการเปรี ยบเทียบค่า retention time ระหว่าง
สารองค์ประกอบในของผสมตัวอย่าง (unknown) กับสารองค์ประกอบมาตรฐาน และขนาดของพีค
อาจเป็ นพืนทีหรื อ ความสู งของพีค สามารถนําไปใช้คาํ นวณหาปริ มาณของสารได้
2. ปริ มาณของสารตัวอย่าง มีความสําคัญอย่างมากในการวิเคราะห์ซึงถ้าฉี ด
สารตัวอย่างเข้าไปมากเกินไปจะทําให้เกิด column overloaded ซึ งพีคทีตรวจวัดได้จะเปลียนไป ทํา
ให้ค่า retention time เปลียนไป ซึ งต้องลดขนาดของสารตัวอย่างลงให้เหมาะสมกับการวิเคราะห์
เพือแก้ปัญหานี
3. อุ ณหภูมิ ของคอลัม น์ มีส่ วนสําคัญต่อการแยกของสารตัวอย่า ง เมื อ
อุณหภูมิของคอลัมน์เพิมสู งขึนจะทําให้องค์ประกอบของสารมีการเคลื อนทีได้เร็ วขึน ช่ วยให้การ
วิเคราะห์เร็ วขึน ในขณะทีเมืออุณหภูมิของคอลัมน์ลดลงจะช่วยให้เกิดการแยก องค์ประกอบต่างๆดี
ขึน ดังนันเพือให้เกิดการแยกทีดี และมี retention time ไม่นานเกินไปควรเลือกอุณหภูมิทีเหมาะสม
ซึ งโดยทัวไปแล้วจะเลือกใช้อุณหภูมิเฉลียของจุดเดือดของสารตัวอย่างนันๆ แต่ควรระวังไม่ให้สูง
เกินกว่าอุณหภูมิของคอลัมน์ทีทนได้สูงสุ ด
การวิเคราะห์ เชิงปริมาณด้ วย Internal Standard method
ั ขึนอยู่ก ับการเลื อกใช้
เป็ นวิธี ที ใช้หาปริ ม าณสารได้ถูก ต้องที สุ ด แต่ท งนี
internal standard โดยสารทีจะใช้เป็ น internal standard นันต้องมีคุณสมบัติดงั นี (ศูนย์เครื องมือวิจยั
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมหาวิทยาลัยศิลปากร )
. สารนันต้องมีคุณสมบัติคล้ายกับสารทีจะวิเคราะห์
. สารนันต้องถูกชะออกจากคอลัมน์หมด
. สารนันต้องให้พีคทีแยกอยู่ต่างหาก โดยพีคจะไม่ซาหรื ํ อเหลื อมทับพีค
อืนๆ และอยูใ่ กล้พีคทีต้องการหา
. สารนันต้อ งไม่ ท าํ ปฏิ กิ ริ ย ากับ สารอื นๆ ที เกี ยวข้อ งโดยสามารถหา
อัตราส่ วนของพืนทีพีค (ratio peak area) ได้คือ
24

อัตราส่ วนพืนทีพีค = พืนทีพีคของสารมาตรฐาน


พืนทีพีคของ internal standard

เมือเขี ยนกราฟระหว่างอัตราส่ วนพืนที พีคกับความเข้มข้นต่างๆของสาร


มาตรฐานจะได้ กราฟมาตรฐานของการวิเคราะห์ทีสามารถนําไปคํานวณหาความเข้มข้นของสาร
ตัวอย่างได้
. . การทดสอบความถูกต้ องของวิธีวเิ คราะห์
การทดสอบความถูกต้อง (validation) ตามคํานิ ยามของ ISO 8402:1994
หมายถึงการตรวจสอบและแสดงข้อมูลทีเป็ นรู ปธรรม เพือยืนยันว่าข้อกําหนดเฉพาะนันเหมาะสม
สําหรับการนําไปใช้ตามวัตถุประสงค์
การทดสอบความถู ก ต้องของวิธี วิ เคราะห์ (method validation) เป็ น
กระบวนการศึ กษาทางห้องปฏิ บ ตั ิก าร เพื อศึ กษาหรื อยืนยันคุ ณลักษณะเฉพาะของวิธีวิเคราะห์
(method performance characteristics) และประเมินด้วยวิธีทางสถิติวา่ วิธีวิเคราะห์นีมีความถูกต้อง
และเหมาะสมตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน ในการทดสอบความถูกต้องวิธีวิเคราะห์จาํ เป็ นต้อง
ระบุพารามิเตอร์ การตรวจสอบทีแน่นอนทีจะบ่งชี ถึงสมรรถนะของวิธีวิเคราะห์ โดยกําหนดเกณฑ์
การยอมรับของวิธีการทดสอบพารามิเตอร์ ใช้เครื องมือทีผ่านการสอบเทียบ ทํางานได้อย่างถูกต้อง
มี ก ารใช้ ส ารเคมี แ ละวัส ดุ อ้า งอิ ง ที เหมาะสมอี ก ทังผู้วิ เ คราะห์ มี ค วามรู้ ค วามสามารถในการ
ดําเนิ นการทดสอบและประเมิ นการทดสอบความถู ก ต้องวิธี วิเคราะห์ ด้วยหลักทางสถิ ติ จัดทํา
เอกสารหลักฐานทีแสดงข้อมูลของกระบวนการทดสอบและยืนยันความเหมาะสมของการนําวิธี
วิเคราะห์ต่อการใช้งานของวิธีวิเคราะห์นนไว้ ั อย่างชัดเจน คุ ณลักษณะเฉพาะของวิธีเหล่านี ได้แก่
ความจําเพาะเจาะจง (specificity/selectivity) ความแม่น (accuracy) ความเทียง (precision) พิสัยหรื อ
ช่วงของการใช้งาน (working range) และความเป็ นเส้นตรง (linearity) ขีดจํากัดของการตรวจพบ
(limit of detection) และขีดจํากัดของการวัดเชิ งปริ มาณ (limit of quantitation) และความทน
ของวิธี (ruggedness/robustness)
8.1.3.1 ความจําเพาะเจาะจง (specificity/selectivity) การศึกษาความ
จําเพาะเจาะจงของวิธีคือ การศึกษาวิธีวิเคราะห์นนั มีการตอบสนองต่อสารทีกําลังศึกษาเพียงอย่าง
เดี ยว หรื อตอบสนองต่อสารอื นที มี ในตัวอย่าง หรื อต่อ species อื นๆ ของสารทีกําลังศึกษาด้วย
ดังนันถ้าหากวิธีทีศึกษามีการตอบสนองต่อสารอืนๆ ทีไม่ใช่สารทีศึกษาเพียงอย่างเดียว แสดงว่าวิธี
นันไม่มีความจําเพาะเจาะจง และสารอืนๆเหล่านันจะทําให้เกิด systematic error
25

8.1.3.2 ช่ วงของการวั ด (working range) และความเป็ นเส้ นตรง


(linearity) ช่วงของการใช้งานหรื อช่วงของการวัด (working range) เป็ นช่วงของความเข้มข้นของ
สารซึ งวิธีวิเคราะห์จะใช้ได้ ความเป็ นเส้นตรง (linearity) เป็ นคุณลักษณะเฉพาะของวิธีวิเคราะห์ที
แสดงความสัมพันธ์ อย่างเป็ นสัดส่ วนโดยตรง ระหว่างสัญญาณจากเครื องมือตรวจวัดและความ
เข้มข้นของสารในช่วงของการตรวจวัด ช่วงของการใช้งานจะเริ มต้นจาก LOD (ถ้าทราบค่า LOD)
หรื อ LOQ ช่วงความเป็ นเส้นตรง (linear range) จะเป็ นส่ วนหนึงของช่วงของการใช้งาน และจะ
เริ มต้นที LOQ ทังช่วงของการใช้งานและช่วงความเป็ นเส้นตรง เป็ นช่วงทีวัดได้ในสารละลายทีวัด
ค่าด้วยเครื องมือ (final solution) ไม่ใช่ในตัวอย่างตังต้น (original sample)
8.1.3.3 ความแม่ นยํา (accuracy) ความแม่นยําเป็ นคุณลักษณะของวิธีที
แสดงความใกล้เคียงของผลการทดสอบต่อค่าจริ งหรื อค่าอ้างอิง การทดสอบความแม่นยําทําได้โดย
การประเมินทัง systematic และ random effect ทีมีต่อผลทดสอบ
8.1.3.4 ความเทียง (precision) ความเทียงเป็ นคุณลักษณะเฉพาะของวิธีที
แสดงถึงความใกล้เคียงกันของผลการวิเคราะห์ซาํ ภายใต้สภาวะทีกําหนด ความเที ยงจะบอกถึ ง
ความคลาดเคลือนสุ่ ม (random error) ทีเกิดขึน โดยทัวๆไปการแสดงความเทียงของวิธีวิเคราะห์
แสดงได้หลายแบบ เช่น การทวนซําได้ (repeatability) หรื อการทําซําได้ (reproducibility)
8.1.3.5 ขีดจํากัดของการตรวจพบ (limit of detection) เป็ นความเข้มข้น
ตําสุ ดของสารทีสนใจในตัวอย่างทีวิธีทดสอบสามารถตรวจวัดได้ดว้ ยความเชื อมัน 99 เปอร์ เซ็นต์
โดยที ความเข้มข้นระดับนี ไม่สามารถบอกปริ มาณทีมีถูกต้องและเที ยงตรงในระดับทียอมรับได้
เนืองจากความไม่แน่นอนมีค่าสู ง
8.1.3.6 ขีดจํากัดของการตรวจพบเชิ งปริมาณ (limit of quantitation) เป็ น
ความเข้มข้นตําสุ ดของสารทีสนใจในตัวอย่างทีวิธีทดสอบสามารถตรวจวัดได้ ทีความเข้มข้นระดับ
นีสามารถรายงานเป็ นปริ มาณทีมีความแน่นอนและเทียงตรง ในระดับทียอมรับได้
เกณฑ์ การยอมรับ LOD และ LOQ
ความเหมาะสมของค่ า LOD และ/หรื อ LOQ ขึ นอยู่ก ับ
วัตถุประสงค์ของการใช้งาน อย่างไรก็ตาม Codex Committee on method and sampling ได้เสนอ
เกณฑ์เกียวกับ LOD และ LOQ สําหรับ trace elements ในอาหารในการประชุม CCMAS ปี
ซึ งห้องปฏิ บตั ิการอาจใช้เป็ นแนวทางสําหรับพิจารณาความเหมาะสมของ LOD และ LOQ ที
ทดสอบได้ดงั นี
26

ตารางที เกณฑ์การยอมรับค่า LOD และ LOQ


LOD หรื อ LOQ เกณฑ์การยอมรับ
LOD <1/20 ของ target value
LOQ <1/10ของ target value
target value หมายถึง ค่ามาตรฐานหรื อ specification ของผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น

8.2 หลักการของเทคนิค nuclear magnetic resonance (NMR)


เป็ นเทคนิ ค ที มี ค วามสํา คัญ และได้รั บ ความนิ ย มมากที สุ ด ในการนํา ไปใช้ห า
โครงสร้ า งโมเลกุ ล ของสารประกอบในปั จ จุ บ ัน เนื องจากสามารถนํา ไปประยุก ต์ใ ช้ใ นการ
ตรวจสอบ หรื อพิสูจน์เอกลักษณ์ ของสารทีมีสูตรโครงสร้างหลากหลาย จึงเป็ นประโยชน์กบั งาน
หลายๆ ด้าน เช่น เคมีสังเคราะห์ เคมีผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ เคมีพอลิเมอร์ เภสัชวิทยา และเคมีทางการ
แพทย์ (มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ , คณะวิทยาศาสตร์ 2552)
8.2.1 หลักการการทํางานของเครือง nuclear magnetic resonance (NMR)
nuclei จะเกิดการหมุนอยูต่ ลอดเวลา ทังนี เพราะ nuclei มีประจุ ซึ งประจุที
อยู่ในขณะหมุนนัน จะสร้ างสนามแม่เหล็ก และจะประพฤติตวั เป็ นเป็ นเหมือนแท่งแม่เหล็กอัน
เล็กๆ nuclei ทีสําคัญๆ ทีใช้ในการศึกษาโครงสร้างของสารอินทรี ย ์ คือ 1H และ 13C (spin ไม่
เท่ากับ 0) แต่สําหรับ 12C และ 16O ทีมีอยูป่ ริ มาณมากในธรรมชาติแต่ไม่สามารถให้ spectrum ได้
เนืองจากมี spin เท่ากับ 0
เมื อ nuclei ที กํา ลัง หมุ น ผ่า นเข้า ไปในสนามแม่ เ หล็ ก กํา ลัง สู ง nuclei
เหล่านันจะเรี ยงตัวไปในทิศทางเดียวกันกับสนามแม่เหล็ก หรื อ จะมีทิศทางตรงกันข้ามกับสนาม
nuclei ทีวางตัวไปในทิศทางเดียวกับสนามจะมีพลังงานตํากว่า nuclei ทีมีทิศทางตรงข้ามกับสนาม
เล็กน้อย เมือเราให้พลังงานในช่วงความถีวิทยุ (radiofrequency : rf) เข้าไป จะไปกระตุน้ nuclei ที
อยูใ่ นระดับพลังงานทีตํา ให้ขึนไปอยูใ่ นระดับพลังงานทีสู งกว่า (บางทีเราอาจเรี ยกว่า spin เกิดการ
“flip”) ความห่ างของระดับพลังงานทังสองระดับดังกล่าวขึนอยูก่ บั ความแรงของสนามแม่เหล็กที
ใส่ เ ข้า ไป ถ้ า สนามแม่ เ หล็ ก ที ใส่ เ ข้ า ไปแรงมากจะทํา ให้ ร ะยะห่ า งมากขึ น ความแรงของ
สนามแม่เหล็กทีใช้จะอยูใ่ นช่วง 1.4 ถึง 4.0 tesla (T) (ถ้าเปรี ยบกับความแรงของสนามแม่เหล็กโลก
จะมีเพียง 0.0007 T เท่านันเอง) ด้วยความแรงของสนามแม่เหล็กดังกล่าวจะทําให้ความห่ างของ
ระดับพลังงานเทียบเท่ากับ 60-600 MHz (megahertz:1 MHz = 106 Hertz หรื อ 106 รอบ/วินาที)
หรื อเท่ากับ 6-60x106 kcal/mol เมือเราคิดในเชิ งเคมี ถึงแม้วา่ ความแตกต่างระหว่างระดับพลังงาน
จะตําแต่เทคนิคนีก็ให้ความแม่นยําทีสู ง
27

การวัด NMR โดยปกติ 1H NMR spectrum ของสารตัวอย่างใดๆ ทําได้โดย


การนําเอาสารตัวอย่างนีมาประมาณ 2- 3 mg มาละลายในตัวทําละลายทีไม่มี 1H อยู่ เช่น CCl4 หรื อ
ตัวทําละลายทีมีการแทนที hydrogen (H) ด้วย Deuterium (D) แล้ว ซึ งเรี ยกว่า deuterated solvent
เช่น CDCl3, CD3OD แล้วใส่ สารอ้างอิง (reference) ลงไปด้วยโดยทัวไปจะเป็ น tetramethylsilane
(TMS; (CH3)4Si) นําเอาสารละลายทีได้มาบรรจุหลอดแก้วผนังบางซึ งโดยปกติจะทําด้วย quartz
(บัญชา พูลโภค 2552)
จากนันจะนําหลอดใส่ ลงไปใน radiofrequency (rf) coil ซึ งจะวางอยู่
ระหว่างขัวแม่เหล็กกําลังสู งทําให้ nuclei เกิดการวางตัวแบบขนานหรื อสวนทางกับสนามแม่เหล็ก
หลังจากนันเราจะเพิมพลังงานให้แก่ nuclei ไปเรื อยๆ โดยใช้ rf coil จนกระทังมีพลังงานเท่ากับ
ความแตกต่างของระดับพลังงาน ณ จุดนี nuclei ก็จะ absorb พลังงานเข้าไปทําให้ nuclei เคลือนที
จากพลังงานตําไปสู่ พลังงานสู งกว่าปรากฏการณ์นีเรี ยกว่าการเกิด resonance ซึ งจะเรี ยกเต็มๆว่า
nuclear magnetic resonance การ plot ระหว่างพลังงานทีถูกดูดโดย nuclei ของสารตัวอย่างกับ
ความถีของ rf coil ทีให้จะได้เป็ น NMR spectrum (บัญชา พูลโภค 2552) ดังภาพที 6
8.2.2 ส่ วนประกอบของเครือง nuclear magnetic resonance (NMR)

ภาพที 6 ส่ วนประกอบของเครื อง NMR spectrum


ทีมา: nuclear magnetic resonance spectroscopy [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 31 มีนาคม 2554. เข้าถึงได้
จาก http://www2.chemistry.msu.edu/faculty/reusch/VirtTxtJml/Spectrpy/nmr/nmr1.htm

ในทางทฤษฎีจะให้สนามแม่เหล็ก (applied magnetic field) คงทีและจะแปร


ค่า rf frequency แต่ในทางปฏิ บตั ิเราจะให้ rf frequency คงที แต่จะแปรค่าความแรงของ
28

สนามแม่เหล็กแทน เมือเกิดการ absorb เราจะทําการวัดความแรงของสนามแม่เหล็กแล้วจึงแปลงให้


อยูใ่ นรู ปความถีแทน spectrum โดยทัวๆ ไปจะถูกบันทึกในลักษณะนี ซึ งโดยทัวไปจะรักษาความ
แรงของสนามแม่เหล็กจะเพิมจากขวาไปซ้ายดังภาพที (บัญชา พูลโภค )

ภาพที 1H NMR spectrum ของ ethanol


ทีมา: 1H NMR spectrum of ethanol in CDCl3 [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 31 มีนาคม . เข้าถึงได้จาก
http://chem.ch.huji.ac.il/nmr/techniques/1d/row1/h.html

จากการที NMR สามารถบอกจํานวนนิวเคลียสทีอยูใ่ นตําแหน่งต่างๆได้นนั


ทําให้สามารถใช้ NMR หาปริ มาณในสารประกอบในสารผสมใดๆ โดยการหาจากพืนทีใต้พีคของ
นิวเคลียสนันๆกับสารมาตรฐานภายใน (internal standard) ทีเหมาะสมได้ (ลัดดาวัลย์ สําเภาเงิน
)
29

8.2.3 ค่ า chemical shift ของโปรตอนชนิดต่ างๆ จะอยูใ่ นช่วงดังปรากฏดังตาราง


ที 8 และภาพที 8

ตารางที 8 ค่า chemical shift ของโปรตอนชนิดต่างๆ


ชนิดของโปรตอน โครงสร้าง chemical shift , ppm
cyclopentane C3H6 0.2
primary R-CH3 0.9
secondary R-CH2-R 1.3
tertiary (R)3-CH 1.5
vinylic C=CH 4.6-5.9
acetylenic C=CH 2.0-3.0
aromatic Ar-H 6-8.5
benzylic Ar-C-H 2.2-3
allylic C=C-CH3 1.7
fluoride H-C-F 4-4.5
chloride H-C-Cl 3.0-4.0
bromide H-C-Br 2.5-4
iodide H-C-I 2.0-4.0
alcohol H-C-OH 3.4-4
ethers H-C-OR 3.3-4
esters RCOO-C-H 3.7-4.1
esters H-C-COOR 2-2.2
acids H-C-COOH 2-2.6
carbonyl compound H-C-C=O 2-2.7
aldehydic R-(H)C=O 9.0-10.0
30

ภาพที 8 ตําแหน่งของ chemical shift ของโปรตอนบนสเปกตรัมของเทคนิค NMR


ทีมา: principles of NMR by John C. Edwards, Ph.D [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 31 มีนาคม 2554. เข้าถึง
ได้จาก http://www.process-nmr.com/nmr1.htm

. หลักการของเทคนิค infrared spectroscopy (IR)


ถึ งแม้ว่า NMR spectroscopy จะเป็ นเครื องมือที มีประสิ ทธิ ภาพสู งทีให้ขอ้ มูล
เกียวกับโครงสร้างของสารได้ แต่เรายังจําเป็ นทีจะต้องอาศัยเทคนิคอืนๆ เพือทีจะได้ขอ้ มูลเกียวกับ
โครงสร้างเพิมเติม หนึงในเทคนิคดังกล่าวทีสําคัญคือ infrared spectroscopy โดยทัวๆ ไป infared
frequency จะเขียนในรู ปของ wavenumber (1/λ ; cm-1) ซึ งก็คือจํานวนของคลืนต่อเซนติเมตร
เครื องมือส่ วนใหญ่สามารถ scan ได้ในช่วง 700-5000 cm-1 โดยทีความถีดังกล่าวจะมีค่าเท่ากับ
พลังงานประมาณ 2-12 kcal/mol พลังงานจํานวนนี มีค่ามากพอทีจะไปสันพันธะต่างๆ ในโมเลกุล
เช่น เกิดการยืด-หดของพันธะ ( bond stretching ) หรื อการโค้งงอของพันธะ (bond bending) ดังใน
ภาพที 9 แต่พลังงานจํานวนนีก็ไม่สามารถทํา ให้พนั ธะแตกได้
31

ภาพที การยืด-หดของพันธะ ( bond stretching ) หรื อการโค้งงอของพันธะ ( bond bending )


ทีมา : บัญชา พูลโภค, ทฤษฎี IR [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ เมษายน . เข้าถึงได้จาก http://
www.chemistry.sc.chula.ac.th/course_info/ /Spectro.pdf

พัน ธะต่ า งชนิ ด กัน จะเกิ ด การ stretching ในช่ ว งความถี ที ต่ า งกัน ดัง นัน IR
spectrum จะบ่งบอกถึ งชนิ ดของพันธะทีมี อยู่ในโมเลกุล ตารางที แสดงให้เห็ นถึ ง stretching
frequencies ของพันธะต่างๆ ทีพบโดยทัวๆ ไปในสารประกอบอินทรี ย ์

ตารางที 9 การเกิดการ stretching ในช่วงความถีทีแตกต่างกันใน IR spectrum


พันธะ ชนิดของสารประกอบ ช่วง wavenumber, cm-1
2960-2850(s) stretch
C-H alkanes 1470-1350(v) scissoring และ bending
CH3 umbrella deformation 1380(m-w) - doublet - isopropyl, t-butyl
3080-3020(m) stretch
C-H alkanes 1000-675(s) bend
32

ตารางที 9 (ต่อ)
พันธะ ชนิดของสารประกอบ ช่วง wavenumber, cm-1
aromatic Rings 3100-3000(m) stretch
C-H phenyl ring substitution bands 870-675(s) bend
phenyl ring substitution overtones 2000-1600(w) - fingerprint region
3333-3267(s) stretch
C-H alkynes 700-610(b) bend
C=C alkenes 1680-1640(m,w) stretch
C≡C alkynes 2260-2100(w,sh) stretch
C=C aromatic Rings 1600, 1500(w) stretch
alcohols , ethers , carboxylic acids, 1260-1000(s) stretch
C-O esters
aldehydes , ketones , carboxylic acids , 1760-1670(s) stretch
C=O esters
monomeric alcohols , phenols 3640-3160(s,br) stretch
hydrogen bonded alcohols , phenols 3600-3200(b) stretch
O-H carboxylic acids 3000-2500(b) stretch
3500-3300(m) stretch
N-H amines 1650-1580 (m) bend
C-N amines 1340-1020(m) stretch
C≡N nitriles 2260-2220(v) stretch
1660-1500(s) asymmetrical stretch
NO2 nitro compounds 1390-1260(s) symmetrical stretch
**หมายเหตุ : v – variable , m – medium , s – strong , br – broad , w - weak
ที มา: บัญ ชา พูล โภค, ทฤษฎี IR [ออนไลน์ ], เข้า ถึ งเมื อ 1 เมษายน 2554. เข้า ถึ ง ได้จาก
http://www.chemistry.sc.chula.ac.th/course_info/2302265/Spectro.pdf
33

การทํา infared spectrum ของสารเพียงแต่ใส่ สารตัวอย่างลงในเครื องมือ เครื องจะ


ทําการ scanโดยปล่อยแสง infared ออกมาผ่านสารไปยัง detector หากสารไม่ absorbed พลังงาน
แสงก็จะผ่านไปสู่ detector หมดแต่ถา้ หากแสงถูก absorbed detector ก็จะคํานวณหาปริ มาณแสงที
เหลืออยู่ จากนันก็จะ plot ค่าระหว่างปริ มาณแสงทีถูกส่ งผ่านมากับ wavenumber รู ปต่อไปนี (ภาพ
ที และภาพที )เป็ นลักษณะ infared spectrum ทีพบโดยทัวๆ ไป จะเห็นว่าspectrum ทังสองมี C-
H stretching ปรากฏทีประมาณ 3000 cm-1 และมี C=O stretching ทีประมาณ 1700 cm-1 บริ เวณที
เป็ นfunctional group band (ช่วง 1500-4000 cm-1) ของทัง 2 สเปกตรัมจะเหมือนกันและไม่ให้
รายละเอียดทางโครงสร้างมากนัก ดังนัน cyclopentanone และ cyclohexanone จึงมี spectrums ทีมี
functional group band เหมือนกัน แต่จะต่างกันตรงบริ เวณทีเป็ น fringerprint band (ช่วง 700-1500
cm-1) เท่านัน บริ เวณนี จะเกิ ดจากการ stretching และ bending ของอะตอมในแต่ละสารซึ งจะมี
ลักษณะเฉพาะแต่ละตัว

ภาพที infared spectrum ของ cyclopentane


ทีมา: บัญชา พูลโภค, ทฤษฎี IR [ออนไลน์], เข้าถึ งเมือ เมษายน . เข้าถึ งได้จากhttp://
www.chemistry.sc.chula.ac.th/course_info/ /Spectro.pdf
34

ภาพที infared spectrum ของ cyclohexane


ทีมา: บัญชา พูลโภค, ทฤษฎี IR [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ เมษายน . เข้าถึงได้จาก http://www.
chemistry.sc.chula.ac.th/course_info/2302265/Spectro.pdf

ดังนัน Infared spectra จะบอกชนิดของหมู่ฟังก็ชนั ทีมีอยูใ่ นโมเลกุลนัน โดยดูได้


จากช่วง functional group region และใช้พิจารณาว่าสารสองชนิดเป็ นตัวเดียวกันหรื อไม่โดยดูได้
จากช่วง fingerprint region

8.4 หลักการของเทคนิค differential scanning calorimeter (DSC)


DSC เป็ นเทคนิ คที เกี ยวข้องกับการวัดความแตกต่างของปริ มาณพลังงานทีถูก
นําไปใช้เพือรักษาอุณหภูมิของสารตัวอย่าง (sample) และสารอ้างอิง (reference) ให้คงทีขณะทํา
การทดลองเพิมหรื อลดอุณหภูมิ ความแตกต่างระหว่าง electrical power ของสารตัวอย่างและสาร
อ้างอิง (dQ/dt) ได้ถูกบันทึกไว้
ในการรับข้อมูลของ DSC ถูกแบ่งออกเป็ น ประเภท โดยประเภทแรกเป็ นแบบ
heat flux DSC วิธีนีจะวัดความแตกต่างของการถ่ายเทความร้อน (heat flow) ทีให้ในการทดลอง
เพิมขึนหรื อลดลงของอุ ณหภูมิระหว่างสารตัวอย่างและสารอ้างอิง ประเภทที คือ แบบ power
compensated DSC เป็ นแบบทีช่องใส่ ตวั อย่างและสารอ้างอิงมีการใช้อุปกรณ์ในการให้ความร้อน
(furnaces) แยกกันโดยมีการรักษาอุณหภูมิของทังสองช่ องให้คงทีตลอดเวลาทีมีการเปลียนแปลง
อุณหภูมิ ภาพที เป็ นแผนภาพแสดงช่องใส่ สารตัวอย่างและอุปกรณ์ในการให้ความร้อน (sample
holder and furnaces) ของเครื อง DSC (คู่มือปฏิบตั ิการเคมีวเิ คราะห์ มหาวิทยาลัยศิลปากร )
35

ภาพที heat flux DSC (บน) และ power-compensation DSC (ล่าง)


ทีมา: Differential Scanning Calorimeter (DSC) [Online], accessed 3 March 2011. Available from
http://www.anasys.co.uk/library/dsc1.htm

ปั จจุบนั DSC เป็ นเทคนิ คทีมีการใช้กนั อย่างแพร่ หลายในการวิเคราะห์ทางความ


ร้อน (thermal analysis) และยังมีการใช้ในทางเภสัชกรรมสําหรับการวิเคราะห์สารปนเปื อนใน
ตัวอย่างยา นอกจากนียังสามารถหาคุณสมบัติบางประการ เช่น อุณหภูมิของการหลอมเหลว และ
อุณหภูมิของการเปลียนแปลง (transition) ของตัวอย่างพอลิเมอร์ เป็ นต้น
ข้อมูลทีได้จาก DSC เป็ นกราฟทีแสดงความสัมพันธ์ระหว่าง (dQ/dt) กับอุณหภูมิ
(T) ซึ งเรี ยกว่าเทอร์ โมแกรม (thermogram) ดังแสดงในภาพที กราฟทีได้จะมีความสัมพันธ์กบั
ความจุความร้อน (heat capacity) ของสารตัวอย่าง โดยทีพืนทีใต้กราฟของ thermogram นันมีความ
สัมพันธ์โดยตรงกับการเปลียนแปลงทางความร้อน (∆H) ในสารตัวอย่าง ดังนันเราอาจจะใช้ DSC
36

ในการวัดความจุความร้ อน ความร้ อนของการหลอมเหลว (heat of fusion) และสามารถหา


enthalpies ของปฏิกิริยาต่างๆได้ (คู่มือปฏิบตั ิการเคมีวเิ คราะห์ มหาวิทยาลัยศิลปากร )

dH/dt = mCp.dTp/dt. ....................(1)

โดยที m = มวลของสารตัวอย่าง ( g )
Cp = ความจุความร้อน( heat capacity ) ( cal/g deg )
dTp/dt = อัตราการเปลียนแปลงของอุณหภูมิในการทดลอง
( programmed rate of temperature increase )

ดังนัน Cp = ( 1/m )dH/dT ....................(2)

จาก Cp = dH/dT

และ dH = CpdT

ดังนัน ∆Hc = ∫CpdT = heat of crystallization

∆Hf = heat of fusion ∆Ht = heat of transition


37

ภาพที thermogram ทีได้จากการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC


ทีมา: Differential Scanning Calorimeter (DSC) [Online], accessed 3 March 2011. Available from
http://en.wikipedia.org/wiki/Differential_scanning_calorimetry

ภาพที แสดงการเปลี ยนแปลง (transition) ที น่ า สนใจของตัว อย่า ง การ


เปลียนแปลงของ glass transition (Tg) เป็ นการเปลียนแปลงไปทาง exothermic ของ base line
เพราะสารตัวอย่างมี ค่าความจุความร้อนลดลง และ peak ทีอยู่เหนื อและใต้ base line เป็ นการ
เปลียนแปลงทาง endothermic และ exothermic ตามลําดับ
สิ งทีสําคัญในการรายงานอุณหภูมิในการเปลียนแปลง (transition temperature) คือ
ต้องมี การระบุ ค่าทีได้เป็ นค่าอุ ณหภูมิทีมี การเริ มต้นเปลี ยนแปลง (onset temperature) หรื อค่า
อุณหภูมิทีมีความชันสู งสุ ดหรื อทีจุดสู งสุ ด ของ peak (the inflection points or peak maximum) ซึ ง
แสดงดังภาพที
38

ภาพที 14 วิธีสําหรับการรายงานอุณหภูมิของการเปลี ยนแปลง transition: (A) การเริ มต้นการ


เปลียนแปลง (onset temperature) และ (B) จุดทีมีความชันสู งสุ ด หรื อทีจุดสู งสุ ดของ
peak (the inflection points or peak maximum) และ Tg = temperature of glass
transition; Tm = melting temperature

ในการวิเคราะห์ ด้ว ยวิธี DSC มัก จะทําการทดลองโดยใช้โปรแกรมอุ ณหภูมิ


(temperature programmed mode) หรื ออาจจะทําการทดลองทีอุณหภูมิคงที (isothermal mode) ใน
การวิเคราะห์จาํ เป็ นต้องใช้เทียบกับอุณหภูมิของสารมาตรฐาน เช่น โลหะ indium , aluminium และ
zinc บริ สุทธ์ในการเทียบมาตรฐานเครื อง (calibration) เพือตรวจสอบความถูกต้องในการรายงานค่า
อุณหภูมิของการเปลียนแปลง (∆T) และปริ มาณความร้อน (∆H) ทีเกียวข้องกับการเปลียนแปลง
หนึงๆ โดยใช้สารมาตรฐานทีทราบค่าทังสองนีอย่างถูกต้อง (accurate) แล้ว จากนันจะทําการหาค่า
ความจุ ความร้ อน และอุณหภูมิของการหลอมเหลวของตัวอย่าง (คู่มือปฏิบตั ิการเคมีวิเคราะห์ 3
มหาวิทยาลัยศิลปากร 2550)
39

8.5 หลักการของเทคนิค gas chromatography-mass spectroscopy (GC-MS)


เป็ นวิ ธี ที สามารถทํา นายชนิ ดขององค์ป ระกอบที มี อ ยู่ใ นสารได้อย่า งค่อ นข้า ง
แม่นยําโดยอาศัยการเปรี ยบเทียบ fingerprint ของเลขมวล (mass number) ของสารตัวอย่างนันๆ กับ
ข้อมูลทีมีอยูใ่ น llibrary นอกจากนี ยังสามารถใช้ในการวิเคราะห์ได้ทงในเชิ
ั งปริ มาณ (quantitative
analysis) และเชิงคุณภาพ (qualitative analysis) GC-MS ประกอบด้วย 2 ส่ วน คือ ส่ วนของเครื อง
GC (gas chromatography) และส่ วนของเครื อง mass spectrometer ซึ งในส่ วนของเครื อง GC นันได้
กล่าวไปแล้วในก่อนหน้านี ในส่ วนนี จะอธิ บายการทํางานของเครื อง MS ทีใช้เป็ นเครื องตรวจวัด
ดังนี
mass spectrometer (MS) เป็ น detector ทีใช้ตรวจวัดองค์ประกอบทีมีอยูใ่ นสาร
ตัวอย่างโดยอาศัยกลไก คือ โมเลกุลขององค์ประกอบทีถูกแยกออกมาจากสารตัวอย่างโดยเครื อง
GC จะถูกไอออไนซ์ในสภาวะสุ ญญากาศแล้วตรวจวัดออกมาเป็ นเลขมวล (mass number) เทียบกับ
ฐานข้อมูลอ้างอิง แล้ว แปลผลออกมาเป็ นชือขององค์ประกอบนันๆ

ภาพที 15 องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS


ทีมา: องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 3 เมษายน 2554. เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html
40

8.5.1 องค์ ประกอบสํ าคัญของ MS แบ่งออกเป็ น


8.5.1.1 ionization source แบ่ งออกเป็ น 2 แบบคือ
1. electron ionization (EI) เป็ นการทําให้สารเกิด fragment โดยใช้ลาํ
electron ซึ ง ionization chamberต้องมีความดันตําประมาณ 10 -8 torr โดย electron จาก filament ที
ร้อนจะถูกโฟกัสผ่านห้องนี และถูกดึงเข้าหา repeller voltage ทีมีความต่างศักย์ 70 โวลต์ ซึ งจะให้
พลัง งานกับ electron เป็ น 70 eV ทํา ให้ ข องผสมที ซับ ซ้ อนของไอออนเกิ ด การแตกหัก
(fragmentation ion) ที สามารถให้ข ้อมูล เกี ยวกับโครงสร้ างและความอุ ดมสัม พัทธ์ (relative
abundance)
2. chemical ionization (CI) เป็ นการทําให้สารเกิดการ fragment ด้วยวิธีทาง
เคมีโดยผสมสารตัวอย่าง (ความดัน10 -4 torr) เข้ากับแก๊สทีทําปฏิกิริยาด้วย (ความดัน 1 torr) แล้ว
ผ่านสารผสมเข้าไปใน ionization chamber โดยการทําให้เกิดการ fragment ด้วยการชนกับ electron
เช่นเดียวกันแก๊สทีใช้ได้แก่ methane, isobutene, ammonia

ภาพที 16 กลไกการเกิด fragment ของ EI และ CI


ทีมา: องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 3 เมษายน 2554. เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html
41

ภาพที 17 electron ionization (EI)


ทีมา: องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 3 เมษายน 2554. เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html

ภาพที 18 chemical ionization ( CI )


ทีมา: องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 3 เมษายน 2554, เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html
42

8.5.1.2 Mass Analyzer


เป็ นเครื องวิเคราะห์มวล มีหลายแบบ คือ magnetic-sector analyzer,
electrostatic analyzer, time-of-flight analyzer, ion cyclotron resonance analyzer, quadrupole mass
spectrometer ใช้หลักการวิเคราะห์ดว้ ยสนามแม่เหล็ก คือ เป็ น path-stability mass spectrometer ซึ ง
มีแหล่งผลิต ion source 2 ส่ วนโดยส่ วนแรกจะทําให้ตวั อย่างกลายเป็ นไอออน และส่ วนที 2 ทําให้
สารกลายเป็ นลําไอออนจากนันไอออนจะถูกบังคับให้ผ่านเครื องแยกไอออน ไอออนทังหมดจะ
ได้รับอิทธิ พลจากสนามแม่เหล็กในสภาวะเดียวกัน แต่ถูกตรวจและวัดด้วยเครื อง detector ได้ไม่
พร้อมกัน ซึ งมีขอ้ ดีคือทําให้สามารถแยกวัดมวลได้อย่างถูกต้องแม่นยํา

ภาพที 19 quadrupole mass analyzer


ทีมา: Paul Gates, A schematic of a quadrupole analyserdiagrams [Online], accessed 3 March
2011. Available from http://www.bris.ac.uk/nerclsmsf/techniques/gcms.html
43

ภาพที 20 การทํางานของเครื อง MS
ทีมา: องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 3 เมษายน 2554. เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html

8.5.1.3 Detector
ทีใช้โดยทัวไปมีหลายอย่าง คือ Faraday cup dectector, electron
multiplier detector, scintillation counter dectector, photographic plate dectector เป็ นต้น

ภาพที 21 การทํางานของ detector ใน GC-MS


ทีมา: องค์ประกอบหลักทีสําคัญของเครื อง GC-MS [ออนไลน์], เข้าถึงเมือ 3 เมษายน 2554. เข้าถึง
ได้จาก http://www.kmitl.ac.th/sisc/GC-MS/main.html
44

ข้ อดีของ GC-MS
1. สามารถวิเคราะห์ได้ทงแบบทั
ั วไปและแบบเฉพาะเจาะจงให้ sensitivity ทีสู ง
2. สามารถบ่งชีชนิดขององค์ประกอบทีมีอยูใ่ นสารตัวอย่างได้
3. สามารถวิเคราะห์ได้ทงในเชิ
ั งปริ มาณและเชิงคุณภาพ
ข้ อเสี ยของ GC-MS
1. ราคาแพง และค่าใช้จ่ายในการบํารุ งรักษาเครื องสู ง
2. ต้องใช้บุคลากรทีมีความชํานาญสู ง

ภาพที 22 chromatogram ของ MA ทีได้จากการวิเคราะห์ดว้ ย MS


ทีมา: mass spectrum of methamphetamine [Online], accessed 3 March 2011. Available from
http://www.justice.gov/dea/programs/forensicsci/microgram/journal_v6_num12/pg5.html
45

9. เอกสารและงานวิจัยทีเกียวข้ อง
Palanuvej et al. ( ) วิเคราะห์ส่วนประกอบของยาบ้า ด้วยเทคนิค GC-FID ทําการ
ทดสอบตัวอย่างยาบ้า ตัวอย่าง ตัวอย่างยาบ้าทีมีเมทแอมเฟตามีนอย่างเดียว ตัวอย่าง (ร้อยละ
. ) ตัวอย่างยาบ้าทีมีเมทแอมเฟตามีนกับคาเฟอีน ตัวอย่าง (ร้อยละ . ) ตัวอย่างยาบ้าทีมีเมท
แอมเฟตามีน คาเฟอีน และ เอฟรี ดิน ตัวอย่าง (ร้ อยละ . ตัวอย่าง) ยาบ้าทีมีแอมเฟตามีน
ตัวอย่าง และตัวอย่างยาบ้าทีมิใช่ แอมเฟตามีน หรื อ เมทแอมเฟตามีน ตัวอย่าง (ร้อยละ . )
Puthaviriyakorn et al. ( ) ศึกษาส่ วนประกอบ และคุณลักษณะของกลุ่มยาบ้าของ
ประเทศไทยด้ว ยเทคนิ ค GC ตรวจพบมี อ งค์ป ระกอบ ชนิ ด ในยาบ้า คื อ , -dimethyl- -
phenylazine, ephedrine, methylephedrine, N-formylmethamphetamine, N-acetylmethamphe-
tamine, N-for-mylephedrine, N-acetylephedrine, N,O-diacetylephedrine, methamphetamine
dimmer
Dayrit et al. (2004) ศึกษาส่ วนประกอบในการผลิตของยาเสพติด methamphetamine
hydrochloride ของประเทศฟิ ลิปปิ นส์ ด้วยเทคนิค GC-FID และ GC-MS ผลปรากฏว่า ยาเสพติด
สามารถแยกชี เฉพาะเจาะจงถึงองค์ประกอบของตัวอย่าง methamphetamine hydrochloride คือ p-
bromotoluene, N-benzyl amphetamine, N-ethyl amphetamine, N-ethyl methamphetamine,
phenyl-2-propanone (P2P), N,N-dimethyl amphetamine, N-formyl amphetamine และ internal
standards 3 ชนิด
Chappell (1995) ได้ทาํ การศึกษาผลของ alkali halide ทีอยูใ่ นเกลือของ MA โดยใช้
เทคนิค FT-IR ในการศึกษาถึงความแตกต่างในการเกิดพีคทีเปลียนแปลงไป และได้มีการศึกษาการ
เปลียนแปลงของจุดหลอมเหลวของเกลือ MA แต่ละชนิด โดยผูว้ ิจยั ได้ทาํ การตกผลึกซําเกลือของ
MA.HCl ให้อยูใ่ นรู ปของเกลืออืน เช่น MA.HBr, MA.HI เป็ นต้น
บทที
วิธีดําเนินการวิจัย

. สารเคมีทใช้
ี ในการทดลอง

ตารางที 10 สารเคมีทีใช้ในการทดลอง
สารเคมี แหล่งทีมา
standard ( d )-methamphetamine hydrochloride Ipomed
ทีมีความบริ สุทธิ . เปอร์ เซ็นต์
diphenhydramine hydrochloride, AR grade Sigma
methanol, AR grade MERCK
methanol, grade for liquid chromatography MERCK
hexane, AR grade LAB-SCAN
ammonium hydroxide, AR grade AnalaR
hydrochloric acid, AR grade AnalaR
chloroform, AR grade Sigma
Anhydrous sodium sulfate, AR grade Sigma
acetone, AR grade LAB-SCAN
ethyl ether, AR grade Sigma

46
47

. เครืองมือและอุปกรณ์ ทใช้
ี ในการทดลอง

ตารางที เครื องมือและอุปกรณ์ทีใช้ในการทดลอง


เครืองมือ ยีห้ อ/รุ่ น
gas chromatography-flame ionization detector (GC-FID) Shimadzu / GC-2010
gas chromatography-mass spectroscopy (GC-MS)
nuclear magnetic resonance spectroscopy (NMR) Bruker 300 /Advance 300
Ultrashield

fourier transform infrared spectroscopy (FTIR) Perkin Elmer


Spectrum 100FT-IR
differential scanning calorimetry (DSC) Du Pont Instruments 910
autopipette ขนาด μL SOCOREX
bukner funnel, suction flask, กระดาษกรอง PYREX, BOMEX, Advantec
beaker 100, 250, ml BOMEX

3. วิธีการทดลอง
3.1 การเตรี ย ม methamphetamine จากตั ว อย่ า งยาไอซ์ ด้ ว ยวิ ธี ก ารตกผลึ ก ซํ า
(Recrystallization)
. . ชังตัวอย่างยาไอซ์นาหนั
ํ ก mg (ชังละเอียด) ละลายด้วยนํากลันแค่พอ
ละลายหมด ปรับ pH ของสารละลายให้เป็ นเบสด้วย conc.NH3
. . นําสารละลายมาสกัดด้วย hexane และระเหยตัวทําละลาย (hexane) ออกจะ
ได้นามั
ํ น (oil)สี เหลืองอ่อน
. . นํา oil ทีได้มาตกผลึกซําด้วย conc.HCl จะเกิดผลึกของ methamphetamine
hydrochloride salt ทีมีลกั ษณะเป็ นผลึกสี ขาว รู ปเหลียม
. . นําผลึกที ได้มาสกัดด้วย chloroform จากนันนําสารละลายทีสกัดได้ (ชัน
ล่าง) มาผ่านคอลัมน์ anh.Na2SO4
. . ระเหยตัวทําละลาย (chloroform) ออก จะได้สารสี ขาวขุ่นของ methamphe-
tamine hydrochloride salt ทีมีลกั ษณะเป็ นคราบ
48

. . ทําการตกผลึกซําโดยการใช้ acetone เป็ นตัวทําละลาย โดยการให้ความร้อน


แก่สารละลายจน methamphetamine hydrochloride salt เกิดการละลายจนหมด จากนันนําสารละ
ลายทีได้ไปกรองร้อนโดยผ่านกระดาษกรอง แล้วปล่อยให้สารละลายเย็นตัวลงอย่างช้าๆ หยด ethyl
ether จะเกิดผลึกรู ปเข็มสี ขาวขนาดเล็ก และนําไปแช่ในนําเย็นเพือให้เกิดการตกผลึกทีสมบูรณ์
. . กรองผลึกแบบลดความดัน แล้วล้างผลึกทีได้ดว้ ย acetone ทีเย็นแล้วล้างตาม
ด้วย ethyl ether ทีเย็น นําผลึกทีได้ไปอบทีอุณหภูมิ 0 ºC จนนําหนักของสารคงที แล้วเก็บผลึกทีได้
ไว้ในขวด vial ปิ ดฝาให้สนิทพร้อมกับปิ ดป้ ายชือให้ชดั เจน

. การวิเคราะห์ ความบริสุทธิของยาไอซ์ (methamphetamine hydrochloride salt)


ทีได้ จากการตกผลึกซํา (recrystallization) ด้ วยเทคนิค gas chromatography-flame ionization
detector (GC-FID)
3.2.1 การเตรี ยมสารละลาย internal standard solution เข้มข้น 1 g/L
เตรี ยมสารละลาย diphenhydramine hydrochloride (ISTD) โดยชัง ISTD นําหนัก
0.5000 g (ทราบนําหนักทีแน่นอน) แล้วปรับปริ มาตรด้วย methanol ในขวดปริ มาตรขนาด 500.00
ml จนมีปริ มาตรครบ 500 ml
3.2.2 การเตรี ยม stock standard solution เข้มข้น 10 g/L
ชังสารมาตรฐาน methamphetamine hydrochloride salt นําหนัก 0.1000 g (ทราบ
นําหนักทีแน่ นอน) ใส่ ในขวดปริ มาตรขนาด 10.00 ml แล้วปรับปริ มาตรด้วยสารละลาย internal
standard solution เข้มข้น 1 g/L จนมีปริ มาตรครบ 10 ml
49

ละลายตัวอย่างยาไอซ์ดว้ ยนํากลัน สกัดด้วย hexane และระเหยตัวทํา


แล้วปรับ pH ให้เป็ นกลางด้วย ละลาย( hexane ) ออก
conc.NH3

นําสารละลายมาผ่านคอลัมน์ ปรับ pH ด้วย conc.HCl จากนัน


anh.Na2SO4 ตามด้วยระเหยตัวทํา สกัดด้วย chloroform
ละลาย ( chloroform ) ออก
การเก็บรวบรวมข้ อมูล
ในการเก็บรอยลายนิวมือแฝงของอาสาสมัครเพือให้ครบตามจํานวนทีต้องการนัน

ตกผลึกซําด้วย acetone กรองขณะร้อนโดยผ่านกระดาษ


โดยให้ความร้อนจน กรองปล่อยให้สารละลายเย็นตัวลง
เกิดการละลายจนหมด อย่างช้าๆ แล้วหยด ethyl ether

กรองผลึกแบบลดความดันล้างผลึกด้วย acetone ที
เย็นตามด้วย ethyl ether ทีเย็น อบทีอุณหภูมิ oC
จนนําหนักของสารคงที แล้วเก็บผลึกทีได้ไว้ในขวด
vial ปิ ดป้ ายชือให้ชดั เจน

ภาพที แผนผังการตกผลึกซํา methamphetamine ในตัวอย่างยาไอซ์


50

3.2.3 การตังค่าสภาวะของเครื อง มีรายละเอียดดังนี


เครือมือ: gas chromatography (GC) ยีห้อ Shimadzu รุ่ น GC-2010
detector: flame ionization detector (FID)
column: Rtx®-5 capillary column ( . mm i.d.x30 m ,film thickness 0.25 μm)
gas system: H2 , Air zero, N2 (make up gas), He (carrier gas)
gas type: Helium 40 ml/sec
temperature: initial temp. 165°C hold 1.5 min rate °C/min จนถึง °C
final temp. 230 °C rate °C/min hold 0.5 min
injector 265 °C inject : 1μL
detector 265 °C
3.2.4 การทดสอบความใช้ได้ของวิธี GC-FID
3.2.4.1 การเตรี ยมสารละลายมาตรฐานเพือใช้ทดสอบในแต่ละพารามิเตอร์
นํา stock standard solution ทีเตรี ยมไว้ความเข้มข้น g/L มาเจือ
จางให้สารละลายมีความเข้มข้นทีระดับต่างๆ ดังตารางที

ตารางที 12 ปริ มาณสารทีใช้ในการเตรี ยมสารละลายมาตรฐาน ทีความเข้มข้นทีระดับต่างๆ


ความเข้มข้นเริ มต้น ปริ มาตรทีปิ เปต ปรับปริ มาตร ความเข้มข้นสุ ดท้าย
(g/L) (mL) (mL) (g/L)
.0 .00 .00 .
.00 . . .0
. .00 . .0
. . . .
. . 10.00 0.5
. . . .
. . . .
. . . 0.05
51

3.2.4.2 การหาความเป็ นเส้นตรง (linearity) และช่วงของการวัด (range)


นําสารละลายมาตรฐานทีมีทีระดับความเข้มข้นต่างๆ ทีเตรี ยมไว้มา
ทดสอบทุกขันตอนเหมือนการทดสอบตัวอย่าง โดยใช้ระดับความเข้มข้น 8 ระดับ ทําการวิเคราะห์
ระดับละ ครัง นําค่าความเข้มข้นกับสัญญาณทีได้มาเขียนกราฟ โดยให้แกน x เป็ นค่าความเข้มข้น
และแกน y เป็ นพืนทีใต้พีค กราฟทีได้ออกมาเป็ นเส้นตรงโดยทีค่าสัมประสิ ทธิ ความเป็ นเส้นตรง
(R2) ต้องไม่นอ้ ยกว่า .
3.2.4.3 การหาขีดจํากัดของการตรวจวัดเชิงคุณภาพ (limit of detection:
LOD)
นํา blank ซึ งในทีนีคือ internal Standard มาทําการวิเคราะห์เหมือน
ตัวอย่าง จากการวิเคราะห์ถา้ blank ทีทําการวิเคราะห์ ไม่มีพีคของสารทีเราศึกษาอยู่ ก็ทาํ การ spike
สารทีเราสนใจศึกษาทีมี ความเข้มข้นตําๆ ลงไป และทําการวิเคราะห์ จนเครื องสามารถทํา การ
วิเคราะห์ ตรวจวัดสัญญาณออกมาได้ ทํา การวิเคราะห์จาํ นวน ซํา และนํา ค่าสัญญาณที ได้ม า
คํานวณหาอัตราส่ วนเบียงเบนมาตรฐาน (SD) แล้วนําค่า SD ทีได้มาคูณ ค่าทีได้คือค่า LOD แล้ว
ทํา การคํา นวณหาค่ า ความเข้ม ข้นที แท้จริ ง โดยนํา ค่ า ที ได้ไปเปรี ย บเที ย บกับ สมการของกราฟ
มาตรฐาน
3.2.4.4 การหาค่ า ขี ด จํา กัด ของการตรวจพบเชิ ง ปริ ม าณ (limit of
quantitation: LOQ)
ทําการวิเคราะห์เหมือนกับการหาค่า LOD แต่นาํ ค่า SD ทีได้คูณ 10
จะได้ค่า LOQ แล้วทําการคํานวณหาค่าความเข้มข้นที แท้จริ ง โดยนําค่าที ได้ไปเปรี ยบเทียบกับ
สมการกราฟมาตรฐาน
3.2.5 การเตรี ยมสารละลายตัวอย่างยาไอซ์ (methamphetamine hydrochloride salt)
เตรี ยมสารละลายตัวอย่าง โดยชังตัวอย่างยาไอซ์ นําหนัก 10-15 mg (ทราบ
นําหนักทีแน่นอน) ลงในขวดปริ มาตรขนาด 5.00 ml ปรับปริ มาตรด้วย internal standard (ในข้อ
3.2.1) จนมีปริ มาตรครบ 5.00 ml เขย่าให้สารละลายเป็ นเนื อเดี ยวกันหรื อจนละลายหมด นํา
สารละลายทีได้ถ่ายลงในขวด vial ขนาด 2 ml แล้วนําไปวิเคราะห์ดว้ ยเครื อง GC-FID โดยทําการ
วิเคราะห์ตวั อย่างละ 3 ซํา พร้ อมทังคํานวณหาปริ มาณสารทีตรวจพบโดยเทียบกับกราฟของสาร
มาตรฐาน
52

3.3 การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ของเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาไอซ์


. . การเตรี ยมตัวอย่างทีใช้ในการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค NMR
1. ชังตัวอย่างยาไอซ์ประมาณ - mg ใส่ ลงในหลอด NMR
2. ใส่ ตวั ทําละลาย (solvent) ให้สูงจากปลายหลอดด้านล่ างประมาณ
เซนติเมตร
โดยตังสภาวะการทํางานของเครื องดังนี
analysis : H
frequency : MHz
solvent : CDCl
reference : TMS (internal standard)
number of scan :
3.3.2 การเตรี ยมตัวอย่างทีใช้ในการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค FTIR
1. การเตรี ยมโพแทสเซียมโบรมายด์ (KBr) โดยการนําไปอบทีอุณหภูมิ 120
องศาเซลเซียส เพือไล่ความชืน เป็ นเวลา 6 ชัวโมง KBr ทีใช้จะต้องเป็ น IR Grade
2. ชัง KBr นําหนัก 99 mg รวมกับตัวอย่าง 1 mg นําไปผสมรวมกันและบด
ให้ละเอียด จากนันนําไปอัดให้เป็ นแผ่น (disc) ด้วยแรงอัด 8 tons เป็ นเวลา 15 นาที
3. จากนันนําตัวอย่างทีได้ ทีมีลกั ษณะเป็ นแผ่นวงกลมไปวิเคราะห์ด้วย
FTIR
โดยตังสภาวะการทํางานของเครื องดังนี
number of scan : 8
wave number : 4000 – 450 cm-1
resolution : 4.00 cm-1
3.3.3 การเตรี ยมตัวอย่างทีใช้ในการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC
1. ชังตัวอย่างนําหนักประมาณ 2 mg ( ทราบนําหนังทีแน่นอน ) ใส่ ลงใน
ถาดอะลูมิเนียมทีใช้สาํ หรับวิเคราะห์ดว้ ยเครื อง DSC
2. ปิ ดฝาถาดอะลูมิเนียม แล้วนําไปอัดปิ ดฝาให้แน่นสนิ ทด้วยเครื องอัดปิ ด
ฝา จากนันนําไปวิเคราะห์ดว้ ย
53

โดยตังสภาวะการทํางานของเครื องดังนี
equilibrate at temperature : 100.00 oC
isothermal : 0.01 min
rate of temperature : 10.00 oC – 200.00 oC

3.3.4 การเตรี ยมตัวอย่างทีใช้ในการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค GC-MS


1. ชังตัวอย่างนําหนักประมาณ 4 mg ( ทราบนําหนังทีแน่นอน ) ใส่ ลงใน
ขวด vial ขนาด 5 mL
2. ปิ เปต methanol ( AR grade ) ปริ มาตร 1.70 mL โดยใช้ micro pipette ใส่
ลงในขวด vial ที มี ตวั อย่างอยู่ก่อนแล้ว เขย่าให้ละลายเป็ นเนื อเดี ยวกัน สารละลายทีได้มีความ
เข้มข้นประมาณ 12 mM จากนันนําไปวิเคราะห์ดว้ ย GC-MS
โดยตังสภาวะการทํางานของเครื องดังนี
initial temp. : 120 °C hold 1.0 min
final temp. : 240 °C rate 10 °C/min
injector : 240 °C
detector : 250 °C
inject : 1μL
บทที 4
ผลการวิเคราะห์ ข้อมูล

1. การเตรียม methamphetamine ในตัวอย่างยาไอซ์ โดยการตกผลึกซํา (recrystallization)


นําตัวอย่างยาไอซ์ทงั 8 ตัวอย่างมาตกผลึกซํา โดยเริ มจากการสกัดแยกสิ งเจือปนออก
แล้วตกผลึกซําอีกครังให้ผลดังตารางที 13

ตารางที ผลการวิเคราะห์ความบริ สุทธิ ของเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาไอซ์ทงก่


ั อนและหลังการตก
ผลึกซํา
ตัวอย่างที ค่าเฉลีย SD
% yield 20.1 32.1 24.0 30.3 39.8 40.9 22.9 28.5 29.8 7.61

2. การวิเคราะห์ ปริมาณ methamphetamine ในตัวอย่างยาไอซ์ ด้วยเทคนิค GC-FID


เมือนําสารละลายมาตรฐาน MA มาวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค GC-FID ได้โครมาโทแกรมดัง
ภาพที 24 จากโครมาโทแกรมพบพีคของ Methanol ทีมีค่า retention time ที 1.5 min และพบพีคของ
MA และ diphenyldramine htdrochloride ซึ งเป็ น internal standard ที retention time 2.33 และ 6.39
min ตามลําดับ จากสภาวะการทดลองทีใช้สามารถแยกพีคของ MA ได้ชดั เจน
2.1 การศึกษาความถูกต้ องของวิธีทใช้ี วเิ คราะห์
. . การสร้ างกราฟสารละลายมาตรฐาน methamphetamine (MA)
นําค่าทีได้จากการวิเคราะห์สารมาตรฐาน methamphetamine (MA) มา plot
กราฟความสัมพันธ์ระหว่างพืนทีใต้พีคของ MA ต่อพืนทีใต้พีคของ Internal standard (ISTD) และ
ความเข้มข้นของ MA ดังตารางที โดยนําค่าความเข้มข้นทีได้มาหาค่าเฉลีย และนํามา plot กราฟ
ระหว่างอัตราส่ วนพืนทีใต้พีคของ MA ต่อพืนทีใต้พีคของ ISTD กับความเข้มข้นของ MA (g/L)
ได้กราฟดังภาพที จากกราฟพบว่ามีค่าความเป็ นเส้นตรง ได้ค่าสัมประสิ ทธิ สหสัมพัทธ์ (R2)
เท่ากับ . และได้สมการแสดงความสัมพันธ์ คือ y = 1.0602x-0.0336

54
55

ภาพที 24 chromatogram ของสารละลายมาตรฐาน methamphetamine ทีความเข้มข้น 1 g/L

ตารางที อัตราส่ วนระหว่างพืนทีใต้พีคของสารมาตรฐาน MA ต่อสาร ISTD ทีความเข้มข้นต่างๆ


ของสารละลายมาตรฐาน MA
ความเข้มข้น อัตราส่ วนพืนทีใต้พีคของสารมาตรฐาน MA ต่อพืนทีใต้พีค ISTD
( g/L ) ครังที ครังที ครังที เฉลีย SD
0.05 0.035275 0.036710 0.037110 0.036365 0.0009649
0.1 0.083534 0.083075 0.084696 0.083768 0.0008355
0.2 0.197970 0.197442 0.200861 0.198758 0.001842
0.5 0.465516 0.468534 0.466870 0.466974 0.001512
1.0 1.067804 1.121742 1.061583 1.083710 0.03308
2.0 2.060418 2.079189 2.056481 2.065363 0.01213
3.0 3.257220 3.242393 3.300004 3.266539 0.02991
5.0 5.492077 5.525537 5.400746 5.472787 0.02669
56

ภาพที กราฟมาตรฐานระหว่างอัตราส่ วนพืนทีใต้พีคของสารมาตรฐาน MA ต่อสารมาตรฐาน


ISTD กับความเข้มข้นของสารละลายมาตรฐาน MA (g/L)

. . การวิเคราะห์ หาค่ า LOD และ LOQ โดยใช้ spike standard blank ได้ ผล
การวิเคราะห์ ดังนี

ภาพที 26 chromatogram ของ internal standard ทีใช้เป็ นสารละลาย blank สําหรับวิเคราะห์หา


ปริ มาณสาร
57

จากโครมาโทแกรมของ blank ไม่พบสาร methamphetamine ทีสนใจศึกษา ดังนันการหา


ค่า LOD โดยการ spike สารมาตรฐานทีมีความเข้มข้นระดับตําๆ ลงไปในสารละลาย blank จน
สามารถตรวจวัดสัญญาณได้ จึงทําการวิเคราะห์จาํ นวน ซํา เพือคํานวณหาค่าเบียงเบนมาตรฐาน
(SD) พบว่าค่า SD ทีวิเคราะห์ได้มีค่า . ซึ งเมือนําค่าดังกล่าวไปคํานวณหาค่า LOD และ
LOQ พบว่าได้ค่า LOD เท่ากับ . และค่า LOQ เท่ากับ . จากนันนําค่ามาแทนใน
สมการทีได้จากการทํากราฟของสารมาตรฐานพบว่าได้ค่า LOD และค่า LOQ ทีความเข้ม .
g/L และ . g/L ตามลําดับ

ตารางที ผลการวิเคราะห์หาค่า LOD และ LOQ โดยใช้ spike standard blank


ครังที อัตราส่ วนพืนทีใต้พีคสารมาตรฐานMA ต่อพืนทีใต้พีค ISTD
.
.
.
.
.
.
.
.
.
.
average .
SD .
58

. การวิเคราะห์ ปริมาณ methamphetamine ในตัวอย่างยาไอซ์


จากการวิเคราะห์ ปริ มาณ MA ในตัวอย่างทังก่อนและหลังตกผลึกซํา จํานวน
ตัวอย่าง แสดงดังตารางที และ chromatogram ทีได้จากการวิเคราะห์ตวั อย่างแสดงในภาพที

ตารางที การวิเคราะห์ปริ มาณ methamphetamine ในตัวอย่าง


ตัวอย่างที
ก่อน . . . . . . . .
ความ ตกผลึก
บริ สุทธิ ซํา
(%) หลัง . . . . . . . .
ตกผลึก
ซํา

ภาพที chromatogram ของ methamphetamine ทีวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค GC-FID


59

. การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ของเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาไอซ์
. การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ด้วยเทคนิค NMR
. การศึกษาค่า chemical shift ของโปรตอนของสารมาตรฐาน MA
วิเคราะห์สารละลายมาตรฐาน MA ด้วยเทคนิค NMR ได้ค่า chemical shift ของ
โปรตอนแสดงดังภาพที และตารางที

ภาพที chemical shift โปรตอนของสารละลายมาตรฐาน MA ในการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค NMR

ตารางที 17 ค่า chemical shift โปรตอนของสารละลายมาตรฐาน MA ในการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค


NMR
Chemical Shift ( ppm ) Functional Group
.-.
.- . NH
.3- .4 CH
. – ., . – . CH2
.- . CH3
.- . CH3
60

. การพิสูจน์เอกลักษณ์ของ methamphetamine ในตัวอย่างทีตกผลึกซําด้วยเทคนิค


NMR
เมือวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค NMR ได้ค่า chemical shift ของโปรตอนของตัวอย่าง
ทีตกผลึกซํา (ภาพที ) กับสารมาตรฐาน methamphetamine และตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตก
ผลึก (ภาพที30) พบว่า สเปกตรัมไม่มีความแตกต่างกัน

ภาพที chemical shift โปรตอนของสารตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา วิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค NMR


61

ภาพที 30 chemical shift โปรตอนของตัวอย่างยาไอซ์ (ตัวอย่างที 1) ก่อนทําการตกผลึกวิเคราะห์


ด้วยเทคนิค NMR

. การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ด้วยเทคนิค FTIR


. การศึกษา IR spectrum ของสารมาตรฐาน MA
จาก spectrum ทีได้จากการวิเคราะห์ แสดงให้เห็นถึงความสามารถของสาร
มาตรฐาน MA ทีมีคุณสมบัติในการดูดกลืนพลังงานในช่วงต่างๆ ดังแสดงในภาพที 1

ภาพที 31 IR spectrum ของสารมาตรฐาน MA


62

. การศึกษา IR spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ทีได้จากการตกผลึกซํา


จากผลการศึกษาดังกล่าว จะเห็นว่าทีช่วง functional group band (ช่วง 1500-
-1
4 00 cm ) สารตัวอย่างมีหมู่ฟังก์ชนเหมื
ั อนกันกับของสารมาตรฐาน MA คือมีการดูดกลืนพลังงาน
ทีตําแหน่งเดียวกันและมีลกั ษณะของ peak ทีเหมือนกัน (ภาพที 2) และเมือมาพิจารณาในช่วงของ
fringerprint band (ช่วง 700-1500 cm-1) บริ เวณนีจะมีลกั ษณะเฉพาะของสารแต่ละตัวซึ งในช่วงนี
peak ของสารตัวอย่างเหมือนกันกับของสารมาตรฐานและตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก (ภาพ
ที 33) จึงทําให้สามารถสรุ ปได้วา่ ตัวอย่างยาไอซ์ทีได้จากการตกผลึกซําเป็ นเมทแอมเฟตามีน (MA)
จริ ง เมือวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค FTIR

ภาพที 2 IR spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ทีได้จากการตกผลึกซํา

ภาพที 33 IR spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก (ตัวอย่างที 1)


63

. การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ด้วยเทคนิค DSC


ศึกษาความบริ สุทธิ ของสารมาตรฐาน MA และตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา โดยได้
ทําการวัดค่าของอุณหภูมิทีทําให้ตวั อย่างเกิดการหลอมเหลว โดยจากการวิเคราะห์เปรี ยบเทียบกับ
สารมาตรฐาน MA จากผลการทดลองได้ค่าของสารมาตรฐาน คือ ทีจุด onset temperature และทีจุด
peak maximum ได้อุณหภูมิเท่ากับ . °C และ . °C ตามลําดับ (ภาพที 4 และตารางที 18)
และเมือวิเคราะห์ตวั อย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา ให้ค่าอุณหภูมิทีจุด onset temperature และทีจุด peak
maximum ได้อุณหภูมิเท่ากับ . °C และ . °C ตามลําดับ (ภาพที 5และตารางที 18) จาก
ข้อมูลแสดงให้เห็นว่าตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา มีค่าทีได้จากการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคนี ตรงกันกับ
หรื อใกล้เคียงกับของสารมาตรฐาน MA และตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก (ภาพที 36) จึง
สามารถทีจะสรุ ปได้ว่าตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซําเป็ นเมทแอมเฟตามีน (MA) จริ ง เมือวิเคราะห์
ด้วยเทคนิค DSC

ภาพที 4 thermogram ของสารมาตรฐาน MA วิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC

ภาพที 5 thermogram ของตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา วิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC


64

ภาพที 36 thermogram ตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึกวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC (ตัวอย่างที 1)

ตารางที 18 ค่า onset temperature และ peak maximum วิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค DSC
จุด onset temp.( c) จุด peak maximum.( c)
สารมาตรฐาน MA 172.0 174.3
Sample ก่อนตกผลึก 171.7 174.0
Sample หลังตกผลึก 172.0 174.3
65

.4 การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ ด้วยเทคนิค GC-MS

3.4 การตรวจพิสูจน์ เอกลักษณ์ด้วยเทคนิค GC-MS


1. การศึกษา mass spectrum ของเมทแอมเฟตามีน (MA)

ภาพที 7 mass spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา

m/z = 91

H
m/z = 148 N
CH3

CH3

m/z = 58

ภาพที 38 กลไกการแตกโมเลกุลของ MA
66

ภาพที 39 mass spectrum ของตัวอย่างยาไอซ์ทีตกผลึกซํา

จากการศึกษา mass spectrum โครงสร้างของ MA จะสังเกตเห็นถึงการแตกของ


โมเลกุลเป็ นโมเลกุลเล็กๆได้หลายตัวซึ งการแตกออกเป็ นส่ วนๆ ทีมีค่า m/z (mass per chart)
ต่างๆกัน แสดงถึงลักษณะเฉพาะตัวของสาร จากผลการวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิค GC-MS นีคือ เมือทํา
การแยกสาร MA ด้วย column ของเครื อง GC ซึ งมีค่า retention time (Rt) อยูใ่ นช่วง . - .
นาที จากนันจะเลื อกช่ วงทีสารออกมาที Rt นี มาเข้าเครื อง MS (single ion monitoring: SIM)
เพือทีจะแตกโมเลกุลของสารนันของมาเป็ นส่ วนๆ ทําให้สามารถทีจะทราบถึงโครงสร้างของสาร
นันๆ ได้วา่ เป็ นสารอะไร แล้วนําข้อมูลทีได้นนไปเปรี
ั ยบเทียบกับ library จากการวิเคราะห์ ตัวอย่าง
ยาไอซ์ทีตกผลึกผลปรากฏว่าให้ mass spectrum ทีมี base line ที m/z และมีส่วนของ m/z อืนๆ
(ภาพที 7 และ ภาพที 38) ทีตรงกับฐานข้อมูลว่าเป็ น MA และตัวอย่างยาไอซ์ก่อนทําการตกผลึก
(ภาพที 39) จึงทําให้มีขอ้ มูลทีสามารถสรุ ปได้วา่ ตัวอย่างทีตกผลึกซําเป็ น MA จริ งเมือวิเคราะห์ดว้ ย
เทคนิค GC-MS
บทที 5
สรุป อภิปรายผล และข้ อเสนอแนะ

จากการทดลองการตกผลึ กซําเมทแอมเฟตามี นในตัวอย่า งยาไอซ์ และการวิเคราะห์


ปริ มาณของเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาไอซ์ดว้ ยเทคนิค gas chromatography สามารถสรุ ปและ
อภิปรายผลการทดลองได้ดงั นี

. อภิปรายผล สรุ ปผลของการวิจัย


จากผลการทดลองตัวอย่างยาไอซ์ จํานวน ตัวอย่าง ทีได้นาํ มาตกผลึกซํา สามารถนํามา
ตกผลึ กซําได้และให้เปอร์ เซ็นต์ร้อยละผลผลิต (%yield) โดยเฉลียเท่ากับ . % ซึ งสามารถตรวจ
พิสูจน์ยืนยันเอกลักษณ์ ว่าเป็ น methamphetamine (MA) ได้ โดยใช้เทคนิ คต่างๆ ดังนี GC-MS,
FT-IR, NMR และ DSC ซึ งให้ผลออกมาพบว่าเป็ น MA จริ ง โดยในขันตอนการตกผลึกซํา ได้ผา่ น
กระบวนการหลายขันตอนจึงทําให้ปริ มาณสารทีได้ในขันตอนสุ ดท้ายลดลงไป จึงทําให้ได้ % yield
ค่อนข้างน้อย แต่อย่างไรก็ตามวิธีการตกผลึกซําด้วยวิธีนีถือว่าเป็ นวิธีทีเหมาะสม เนื องจาก MA ที
ได้จากการตกผลึกซํานันมีความบริ สุทธิ สู งเพิมมากขึน ซึ งเปรี ยบเทียบจากค่าความบริ สุทธิ ก่อนและ
หลังการตกผลึกซํา โดยทําการวิเคราะห์ความบริ สุทธิ ด้วยเทคนิค GC-FID ซึ งเป็ นวิธีมาตรฐานใน
ปัจจุบนั ทีใช้ในการวิเคราะห์หาปริ มาณ MA
จากผลการทดสอบความใช้ไ ด้ของวิธี การวิเคราะห์ กราฟมาตรฐานของสารละลาย
มาตรฐาน MA โดยเทคนิ ค GC-FID ได้ค่าความเป็ นเส้นตรง ทีมีค่าสัมประสิ ทธิ สหสัมพัทธ์ (R2)
เท่ากับ 0.9988 และได้สมการแสดงความสัมพันธ์คือ y = 1.0602x-0.0336 (ภาพที 25) ช่วงเป็ น
เส้นตรงทีใช้ในการวิเคราะห์ปริ มาณ MA อยูใ่ นช่วงความเข้มข้น 0.05 g/L ถึง 5.0 g/L และจากการ
หาค่า limit of detection (LOD) และ limit of quantitation (LOQ) ของ MA ได้ค่าส่ วนเบียงเบน
มาตรฐาน (SD) เท่ากับ 0.0003874 และเมือนําค่า SDไปคํานวณหาค่า LOD และ LOQ ได้ค่า
0.03285 g/L และ 0.03557 g/L ตามลําดับ และการวิเคราะห์ปริ มาณของเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่าง
ยาไอซ์ 8 ตัวอย่าง ด้วยเทคนิ ค gas chromatography มีปริ มาณของ MA ก่อนตกผลึกซํา อยูใ่ นช่วง
89.71-97.38 % และหลังตกผลึกซําอยูใ่ นช่วง 91.28-98.49 % (ดังตารางที 16)
ซึ งในการศึ กษาการตกผลึ กซําของ MA ได้มีผูท้ าํ การศึกษาไว้คือ J.S.Chappell ได้
ทําการศึกษาผลของ alkali halide ทีอยูใ่ นเกลือของ MA โดยใช้เทคนิค FT-IR ในการศึกษาถึงความ
67
68

แตกต่างในการเกิดพีคทีเปลียนแปลงไป และได้มีการศึกษาการเปลียนแปลงของจุดหลอมเหลวของ
เกลือ MA แต่ละชนิ ด โดยผูว้ ิจยั ได้ทาํ การตกผลึกซําเกลื อของ MA.HCl ให้อยู่ในรู ปของเกลื ออืน
เช่น MA.HBr, MA.HI เป็ นต้น จากการศึกษา ข้างต้นซึ งสอดคล้องกับงานวิจยั นี คือสามารถตกผลึก
ซําเกลือของ MA ให้มีความบริ สุทธิ เพิมมากขึนได้ พบว่าวิธีดงั กล่าวมีความถูกต้องและเหมาะสมที
จะใช้ในการตกผลึกซําได้

2. ข้ อเสนอแนะจากการวิจัย
ควรทําการทดลองตกผลึ กซําหลายๆ ครังเพือเพิมความบริ สุทธิ ของ methamphetamine
ทีได้จากตัวอย่างยาไอซ์ทีตรวจจับ ให้มีความบริ สุทธิ ใกล้เคียงกับสารมาตรฐานและพัฒนาวิธีให้มี
ค่าร้อยละผลผลิต (% yield) ทีสู งขึน
บรรณานุกรม

ภาษาไทย
กรมควบคุ มยาเสพติด. ศูนย์วิชาการ. ผลกระทบสารเมทแอมเฟตามีน [ออนไลน์]. เข้าถึ งเมือ
กุ ม ภาพั น ธ์ . เข้ า ถึ ง ได้ จ าก http://www.raycity.in.th/board/viewthread.php?.
กระทรวงสาธารณสุ ข. กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์. แนวปฏิบตั ิการทดสอบความถูกต้องของวิธี
วิเคราะห์ท างเคมีโดยห้องปฏิ บตั ิก ารเดี ย ว. กรุ งเทพมหานคร: สํา นัก พิม พ์กรมวิทยา
ศาสตร์การแพทย์ , .
การทดสอบเมทแอมเฟตามี น [ออนไลน์ ]. เข้า ถึ ง เมื อ กุ ม ภาพัน ธ์ .เข้า ถึ ง ได้ จ าก
http://www.bikudo.com/buy/details/275609/one_step_methamphetamine_test.html.
เกษศิรินทร์ พร กูลเกือ และวิระชัย สมัย. การตรวจวัดเมทแอมเฟตามีนในพลาสมาโดยใช้แก๊สโคร
มาโตกราฟี ตัวตรวจวัดชนิ ดเฟรมไอออไนเซชัน (GC-FID) [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ
กุมภาพันธ์ . เข้าถึงได้จาก http://www.grad.cmu.ac.th/.
จรรยา ลาภศิริอนันต์กุล. “การพัฒนาทักษะชีวิตเพือป้ องกันการเสพยาบ้าของนักเรี ยนมัธยมศึกษา
ตอนต้น ย่า นชุ ม ชนนัก เรี ย นบ้า นโป่ ง ราชบุ รี . ” (วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญามหาบัณ ฑิ ต
สาขาวิชาสุ ขศึกษาและพฤติกรรมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, ).
ชวนี ทองโรจน์, วีรศักดิ สามี, และนริ ศา คําแก่น. “การจัดทําสารมาตรฐานแห่งชาติของตัวยา
เมทแอมเฟตามีน.” SWU J Pharm Sci. , ( ) : - .
“ประกาศกระทรวงสาธารณสุ ข เรื องระบุชือและประเภทยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที )”. ราชกิจจา
นุเบกษา. เล่มที , ตอนพิเศษ ง ( ตุลาคม ) : 76.
พันธุ์นภา กิ ตติรัตนไพบูลย์ และคณะ.“ศึกษาลักษณะการดําเนินโรคของโรคจิตจากเมทแอมเฟตา
มี น ในผูป้ ่ วยที เสพเรื อรั ง และติ ด ตามผลระยะยาว( เดื อ น).”กรมสุ ข ภาพจิ ต ,
(มกราคม ) : - .
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.ศูนย์วชิ าการสารเสพติดภาคเหนือ. ประเภทของยาเสพติด [ออนไลน์]. เข้าถึง
เมือ กุมภาพันธ์ . เข้าถึงได้จาก http://www.sri.cmu.ac.th/~nsac/All_Page/Drug/
habit-forming_drug_Page.htm.
แม้น อมรสิ ทธิ และ อมร เพชรสม. Principle and Techniques of Instrumental Analysis.
กรุ งเทพมหานคร: ห้างหุน้ ส่ วนจํากัดโรงพิมพ์ชวนพิมพ์, .
รัตติยากร สําราญพิศ. ลักษณะทัวไปของยาบ้า. [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ กุมภาพันธ์ . เข้าถึง
ได้จาก http://edtech.kku.ac.th/~s48121275001/485050023-6/page5.htm#yaba.
ลัดดาวัลย์ ศรี วฒั นะ. “การพัฒนาเทคนิคเพือหาปริ มาณ MA และ MDMA ในตัวอย่างยาบ้าและ
ยาอี”. เอกสารวิชาการมหาวิทยาลัยศิลปากร, . (อัดสําเนา)
ศูนย์อาํ นวยการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด. “เอกสารโครงการปฏิบตั ิการรวมพลังไทยเทิดไท้
องค์ภูมิพล เฉลิมฉลอง พรรษา.” เอกสารเผยแพร่ , กันยายน . (อัดสําเนา)
ศิริกญั ญา เรื องศรี . “การแยกเมทแอมเฟตามีนกับไดเมทแอมเฟตามีนในตัวอย่างยาบ้าด้วยวิธี Thin
Layer Chromatography (TLC) และวิธี Gas Chromatography (GC).”วิทยานิ พนธ์
ปริ ญญาวิ ท ยาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช านิ ติ วิ ท ยาศ าสตร์ บัณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย
มหาวิทยาลัยศิลปากร, .
สถานีตาํ รวจภูธรจักราช นครราชสี มา. ผลทางกฎหมายครอบครองยาเสพติด [ออนไลน์].เข้าถึงเมือ
กุ ม ภาพันธ์ . เข้า ถึ ง ได้จ าก http://chakkarat.nmpp.go.th/web/law_detail.php?
law_id=
สถานี ตาํ รวจภูธร อุตรดิตถ์. โทษทีได้รับของการเสพยาบ้า [ออนไลน์]. เข้าถึงเมือ กุมภาพันธ์
. เข้าถึงได้จาก http://www.uttaradit.police.go.th/ya002_6.html
สารานุ กรมเสรี . ประวัติการศึกษาเมทแอมเฟตามีน [ออนไลน์]. เข้าถึ งเมือ กุมภาพันธ์ .
เข้าถึงได้จาก http://www.thailabonline.com/drug-amphetamine.htm
สาโรจน์ ก้อนพรหม. “การป้ องกันและการแก้ไขปั ญหาการเสพติดยาบ้าในเขตตํารวจภูธรภาค .”
วิท ยานิ พนธ์ ป ริ ญญามหาบัณฑิ ต สาขาวิช าการศึ ก ษา บัณฑิ ตวิท ยาลั ย มหาวิท ยาลัย
ศิลปากร, .
สุ ชั ญ ญา พู ล สุ ข. “การตรวจวิ เ คราะห์ เ มทแอมเฟตามี น ในนํ าลาย ด้ ว ยเทคนิ ค GC-FID.”
วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาวิ ท ยาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช านิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ บัณ ฑิ ต
วิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร, .
สํานักงานคณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด. “รายงานการป้ องกันและปราบปราม
ยาเสพติ ดในประเทศไทย ประจํา ปี งบประมาณ .” เอกสารเผยแพร่ , สํา นัก งาน
คณะกรรมการป้ องกันและปราบปรามยาเสพติด, ตุลาคม . (อัดสําเนา)
อนุ สรณ์ ดิษฐสวรรค์. “การวิเคราะห์ปริ มาณเมทแอมเฟตามีนในปั ส สาวะโดยวิธีแก๊สโครมาโทร
กราฟฟี : ศึกษาในเขตพืนทีของศูนย์วิทยาศาสตร์ การแพทย์นครสวรรค์.” วิทยานิพนธ์
ปริ ญญาวิ ท ยาศาสตรมหาบัณ ฑิ ต สาขาวิ ช านิ ติ วิ ท ยาศาสตร์ บัณ ฑิ ต วิ ท ยาลั ย
มหาวิทยาลัยศิลปากร, .
อุดมศักดิ เปลียนขํา. “การดําเนินงานของศูนย์ป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดมหาสารคาม
เกี ยวกับยาเสพติ ดประเภทแอมเฟตามีนในกลุ่มเยาวชนในสถานศึกษา.” วิทยานิ พนธ์
ปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมศึกษาบัณฑิ ตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,
.
อุมาพร อติชาติมณี . “การวิเคราะห์หาปริ มาณเมทแอมเฟตามีนโดยเทคนิ คแก๊สโครมาโตรกราฟฟี
และนิ ว เคลี ย ร์ แ มกเนติ ก เรโซแนนซ์ ส เปกโทรสโกปี .” วิ ท ยานิ พ นธ์ ป ริ ญ ญาวิท ยา
ศาสตรมหาบัณฑิ ต สาขาวิชานิ ติวิทยาศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร,
.

ภาษาอังกฤษ
Adam, P. et al. “Physico-chemical profiles of methamphetamine tablets.”CMU.4,1(2005) : 65-71.
Bershtein, V.A. and Egorov, V.M.. Differential Scanning Calorimetry of Polymer. West Sussex :
Ellis Horwood Limited,1994.
Dayrit, F.M., and Dumlao M.C. “Impurity profiling of methamphetamine hydrochloride drugs in
the Philippines.” Forensic Sci. Int. 144(2004) : 29-36.
Dodd, J.W. and Kenneth, H. Tonge. Thermal Methods. London : John Wiley & Sons, 1987.
Palanuvej,C.et al.“Chemical analysis of Illicit amphetamine.”Thai J.Hlth Rasch.11,
2(1997) : 73-80.
Skoog, D.A. and James J. Leary. Principle of Instrumental Analysis. Orlander : Saunders college
publishing, 1992.
Wikipedia. Methamphetamine [Online]. Accessed 28 February 2011. Available from http://en.
wikipedia.org/wiki/Methamphetamine.
ภาคผนวก
73

ภาคผนวก ก
โครมาโทแกรมของสารละลายมาตรฐาน เมทแอมเฟตามีน ในการวิเคราะห์ ด้วยเทคนิค GC-FID
74

โครมาโทแกรมของสารละลายมาตรฐาน เมทแอมเฟตามีน ในการวิเคราะห์ ด้วยเทคนิค GC-FID

ภาพที 40 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


75

ภาพที 41 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


76

ภาพที 42 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


77

ภาพที 43 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


78

ภาพที 44 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


79

ภาพที 5 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


80

ภาพที 6 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


81

ภาพที 7 โครมาโทแกรมสารละลายมาตรฐานเมทแอมเฟตามีนทีความเข้มข้น . g/L


82

ประวัติผ้วู จิ ัย

ชือ – ชือสกุล พันตํารวจโทธนบูรณ์ ธัชศฤงคารสกุล


ทีอยู่ 24/3 ถนนเพชรเกษม ตําบลหน้าเมือง อําเภอเมือง จังหวัดราชบุรี 70000
สถานทีทํางาน พิสูจน์หลักฐานจังหวัดราชบุรี
ประวัติการศึกษา
พ.ศ. 41 สําเร็ จการศึกษาปริ ญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต วิชาเอกฟิ สิ กส์
มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ นครปฐม
พ.ศ. 50 ศึกษาต่อระดับปริ ญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิติวทิ ยาศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร
ประวัติการทํางาน
พ.ศ. - รองสารวัตรวิทยาการจังหวัดกาฬสิ นธุ์
พ.ศ. - รองสารวัตรวิทยาการจังหวัดสมุทรสาคร
พ.ศ. - รองสารวัตรวิทยาการจังหวัดราชบุรี
พ.ศ. - นักวิทยาศาสตร์(สบ ) วิทยาการจังหวัดราชบุรี
พ.ศ. - นักวิทยาศาสตร์(สบ ) หัวหน้าพิสูจน์หลักฐานจังหวัดสมุทรสงคราม
พ.ศ.2553-ปัจจุบนั นักวิทยาศาสตร์(สบ2) พิสูจน์หลักฐานจังหวัดราชบุรี

Das könnte Ihnen auch gefallen