Sie sind auf Seite 1von 15

PAGE 58

บทที่ 5 : การสืบพันธุแ์ ละการเจริญเติบโต


5.1 การสืบพันธุ์

การสืบพันธุ์ (Reproduction) : เป็นการเพิ่มจานวนของสิ่งมีชีวิตเพื่อให้สามารถดารงเผ่าพันธุ์ต่อไปได้

การสืบพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตเซลล์เดียว

แบ่งเป็น
โดยการแบ่งตัวเป็น 2 ส่วน (Binary fission) ได้ลักษณะเหมือนกัน เช่น
ยูกลีนา พารามีเซียม

โดยการคอนจูเกชัน (Conjugation) ซึ่งเป็น การรวมของเซลล์สืบพั น ธุ์


ที่ มี ลั กษณะเหมื อ นกัน (Isogamete) เซลล์สื บ พั น ธุ์จ ะมาจั บคู่ กั น และ
มี ก ารแลกเป ลี่ ย น สารพั น ธุ ก รร ม กั น โด ยแต่ ละตั วจะมี นิ วเค ลี ย ส
คือ Micronucleus/Macronucleus เช่น พารามีเซียม

การสืบพันธุ์ของสัตว์

แบ่งเป็น เช่น - Budding (การแตกหน่อ) >> ไฮดรา ฟองนา


- Regeneration (การงอกใหม่) >> ดาวทะเล พลานาเรีย
- Parthenogenesis ไข่ที่ไม่ได้รับการปฏิสนธิแล้วกลายเป็นตัวอ่อน
>> ผึง มด ต่อ แตน

 Hermaphrodite
เป็นการสืบพันธุ์ของสัตว์ที่มี 2 เพศอยู่ในตัวเดียวกัน เช่น พลานาเรีย
ไส้เดือนดิน ไฮดรา ต้องผสมข้ามตัวเนื่องจากไข่และอสุจิเจริญไม่พร้อมกัน
 Fertilization
การสืบพันธุ์ของสัตว์แยกเพศโดยอาศัยการปฏิสนธิ
- ปฏิสนธิภายนอก เช่น ปลา กบ
- ปฏิสนธิภายใน  ออกลูกเป็นตัว เช่น สัตว์เลียงลูกด้วยนม
 ออกลูกเป็นไข่ เช่น สัตว์ปีก สัตว์เลือยคลาน

การสืบพันธุ์ของมนุษย์

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 59

 ระบบสืบพันธุ์เพศชาย

ตาแหน่ง อวัยวะ หน้าที่


องคชาติ
อวัยวะสืบพันธุ์ (penis)
ภายนอก ถุงหุ้มอัณฑะ
(scrotum sac)
หลอดสร้างตัวอสุจิ
(seminiferous tubule)
อิเตอร์สติเชียลเซลล์
(Interstitial cell)
หลอดเก็บอสุจิ
(epididymis)
ท่อนาอสุจิ
อวัยวะสืบพันธุ์ (vas deferens)
ภายใน ต่อมสร้างนาเลียงอสุจิ
(seminal vesicle)
ต่อมลูกหมาก
(prostate gland)
ต่อมคาวเปอร์
(cowper’s gland)

 การสร้างเซลล์สืบพันธุเ์ พศชาย

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 60

ภาพแสดงอวัยวะเพศชาย (ด้านข้าง)

ภาพแสดงอวัยวะเพศชาย (ด้านหน้า) ภาพแสดงโครงสร้างของอสุจิ

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 61

 ระบบสืบพันธุ์เพศหญิง

ตาแหน่ง อวัยวะ หน้าที่


คริตอลิส
อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก (clitoris)
แคมใหญ่
(labia majora)
แคมเล็ก
(labia minorra)
รังไข่
อวัยวะสืบพันธุ์ภายใน (ovary)
มดลูก
(uterus)
ช่องคลอด
(vagina)
ท่อนาไข่
(oviduct)

ภาพแสดงอวัยวะเพศหญิง (ด้านข้าง)

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 62

ภาพแสดงอวัยวะเพศหญิง (ด้านหน้า)

ภาพแสดงรังไข่ของเพศหญิง

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 63

 การสร้างเซลล์สืบพันธุ์เพศหญิง

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 64

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของรังไข่ในแต่ละรอบเดือน

 การปฏิสนธิ

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 65

ขันตอนที่อสุจิจะเข้าไปผสมกับไข่

 การตังครรภ์

ผนังมดลูกประกอบด้วยเนือเยื่อ 3 ชัน
ชันในสุดเรียกว่า Endometrium

: จะพัฒนาร่วมกับเนือเยื่อของ Embryo แล้วเจริญเป็น “รก”


(รกจะแลกเปลี่ยน Gas และส่งอาหารให้แก่ Embryo)

: จะสลายหลุดออกกลายเป็นประจาเดือน

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 66

เมื่อนิวเคลียสของเซลล์ไข่และอสุจิรวมตัวกันที่ท่อนาไข่

Zygote
แบ่งเซลล์เพื่อเพิ่มจานวน
Embryo

ฝังตัวที่มดลูก Corpus luteum สร้าง Progesterone


เจริญต่อไปเป็น ทางานร่วมกับ
Fetus Estrogen
เจริญเป็น
Baby ทาให้เยื่อบุผนังมดลูกชันในหนาขึน
มีเส้นเลือดฝอยจานวนมาก

 ประจาเดือน (Menstruation)

มีฮอร์โมนสองชนิด คือ Estrogen และ Progesterone ควบคุมการสร้างและ


หลุดลอกของเยื่อบุโพรงมดลูก ซึ่งระดับฮอร์โมนทังสองจะมีความสัมพันธ์กับการตกไข่
จากรังไข่

แต่ ละรอบเดื อ นจะมี ช่ ว งเวลาประมาณ 26-30 วั น ขึ นอยู่ กั บ แต่ ล ะบุ ค คล ท าให้


ประจาเดือนเกิดขึนเฉลี่ยเดือนละ 1 ครัง

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 67

 ฮอร์โมนที่เกี่ยวข้องกับรอบเดือน

 ระดับฮอร์โมน FSH, LH และ Estrogen จะเพิ่มขึนจนสูงสุดในวันตกไข่ จากนันจึงค่อย


ลดปริมาณลง

 Progesterone จะเพิ่มขึนหลังจากมีการตกไข่แล้ ว ระหว่างตังครรภ์ Progesterone


จะมี ระดั บ สู งกว่า Estrogen จนกระทั่ งถึ งก าหนดคลอดระดั บ Progesterone จะลดลง
ในขณะที่ Estrogen จะร่วมกับ Oxytocin จากต่อมใต้สมองกระตุ้นให้กล้ามเนือมดลูกหดตัว
ทาให้เกิดการคลอดทารกออกมา

ภาพแสดงฮอร์โมนชนิดต่างๆ ในแต่ละรอบเดือน

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 68

5.2 การเจริญเติบโตของสัตว์

 เกิดจาก ;
 การเพิ่มจานวนเซลล์ (Cell Multiplication)
 การขยายขนาดเซลล์ (Growth)
 การเปลี่ยนแปลงของเซลล์ไปทาหน้าที่เฉพาะ (Cell Differentiation)
 การเกิดรูปร่างที่แน่นอน (Morphogenesis)

 การวัดการเจริญเติบโตของสิ่งมีชีวิต มีหลายวิธี เช่น


 การวัดมวลหรือนาหนัก  การวัดนาหนักแห้ง
 การวัดความสูง  การนับจานวนเซลล์

 กราฟการเจริญเติบโต เป็นรูปตัวเอส S-shape หรือ S-curve

3
2

1
10–12 ปี

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 69

ภาพแสดงการเปลี่ยนแปลงของไซโกตขณะมีการเจริญเติบโต

 การเจริญเติบโตของสัตว์ : การเจริญเติบโตในระยะเอ็มบริโอ เริ่มจากอสุจิปฏิสนธิกับไข่กลายเป็นไซโกต


(Zygote) ซึ่งจะมีการเปลี่ยนแปลงเป็นระยะต่างๆ ดังนี

ระยะคลีเวจ (Cleavage)

NOTE : ชนิดของคลีเวจ (Cleavage type) แบ่งเป็น 4 ชนิด


1. Holoblastic & equal พบในกลุ่ ม ไข่ แ ดงน้ อ ย nucleus มั ก แบ่ ง ตลอดเซลล์ และได้ ข นาดเซลล์ เท่ า ๆ กั น
(blastomeres)
2. Holoblastic & unequal พบในพวกไข่แดงปานกลาง เช่น Amphibian เซลล์ข้างบนแบ่งเร็วกว่า ได้เซลล์ ขนาดเล็ก
เรี ย ก micromeres, เซลล์ข้ า งล่ า งแบ่ งช้า ได้ เซลล์ ใ หญ่ ก ว่ า เรี ย ก macromeres หรือ yolk cells เพราะภายในมี
yolk อยู่
3. Meroblastic & discoidal พบในกลุ่มไข่แดงมาก เช่น shark, reptile, chick cytoplasm น้อยมากเป็นแผ่น
บางๆ ปิดบน yolk แบ่งเฉพาะ cytoplasm จะได้เซลล์เป็นกลุ่มเป็นแผ่น ไม่เป็นก้อน ได้แผ่น germinal disc การแบ่ง
จะแบ่งเฉพาะบางส่วน เซลล์เรียงกันเป็นวงกลม
4. Superficial Cleavage พวกที่ มีไข่แดงมาก พบใน Invertebrates และพวก insects ที่ มี centrolecithal
egg ซึ่ง cytoplasm พอแบ่งได้บ้าง nucleus แบ่งได้หมด ผิวเป็นเซลล์ชันเดียวหุ้มไข่แดงไว้

ระยะบลาสตูเลชั่น
(Blastulation)

ระยะแกสตรูเลชั่น
(Gastrulation)

ระยะออร์แกโนเจเนซิส
(Organogenesis)

 Ectoderm เจริญเป็น

 Mesoderm เจริญเป็น

 Endoderm เจริญ

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 70

 ชนิดของไข่

มีปริมาณไข่แดงน้อยหรือไม่มีเลย เช่น ไข่ของสัตว์เลียงลูกด้วยนม


มีปริมาณไข่แดงปานกลางกระจายไปทั่วเซลล์ มีอยู่หนาแน่นที่ขัวหนึ่ง อีกขัวมีน้อย เช่น ไข่กบ
มีปริมาณไข่แดงมาก รวมกันอยู่มากที่ขัวหนึ่งของเซลล์ เช่น ไข่ปลา ไข่ไก่ ไข่เป็ด
มีไข่อยู่ตรงกลางล้อมรอบด้วย Cytoplasm และเปลือก เช่น ไข่ของแมลงต่างๆ

 การเจริญเติบโตของกบ

Sperm + Egg

Zygote = ไข่กบที่ได้รับการปฏิสนธิ

มีวุ้นหุ้ม
ด้านบน : สีเทา มี embryo มีการแบ่ง cell เรียกด้าน “Animal pole”
แบ่งเซลล์  Cleavage  Blastulation  Gastulation  Organogenesis
ลูกอ๊อด  Metamorphosis  Adult
ด้านล่าง : สีเหลืองมีไข่แดง (Yolk) ซึง่ เป็นอาหาร เรียกด้าน “Vegital pole”

 การเจริญเติบโตของไก่

Sperm + Egg

Zygote = ไข่ไก่ทไี่ ด้รับการปฏิสนธิ

Embryo
มีปริมาณไข่แดงมาก (Telolecithal egg)
มีเปลือกหุ้ม ป้องกันอันตราย แก้ปัญหาจากการสูญเสียนาของ Cell ไข่
มีเยื่อหุ้ม 2 ชัน
ชันนอก = ถุงคอเรียน (Chorian) : แลกเปลี่ยนแก๊ส
ชันใน ถุงนาคร่า (Amnion)
(มีนาคร่า : ป้องกันการกระทบกระเทือน ไม่ให้ตัวอ่อนแห้ง)
ถุงแอลแลนทอยส์ (Allantois)

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 71

(แลกเปลี่ยนแก๊สกับภายนอก เก็บของเสียพวกกรดยูริก)
 การเจริญเติบโตของคน

Cellไข่ปฏิสนธิกับ Cell อสุจิ (บริเวณท่อนาไข่ส่วนต้น)



Zygote แบ่ง Cell ในระยะ Cleavage

ได้ตัวอ่อน เรียกว่า .......................................................

พัฒนาเป็น .......................................... แล้วฝังตัวทีผ่ นังมดลูกชันใน ในวันที่ .............................

Embryo จะสร้างถุง ............................... บางส่วนจะแทรกไปใน ........................................
(เนือเยื่อชัน endometrium ของแม่เชื่อมถุงคอเรียนจากลูก)
กลายเป็น ...........................

Embryo สร้างถุงหุ้มตัวเอง (ถุงนาคร่า) = ภายในมีของเหลวเรียก ............................................
ป้องกันการกระทบกระเทือน และ Embryo เคลื่อนตัวอย่างอิสระ

Embryo สร้างสายสะดือเชื่อมกับรก

อายุ 2 สัปดาห์ มีการเจริญในระยะ Gastrula เกิด ...........................................

สัปดาห์ที่ 3 เริ่มปรากฏร่องรอยของระบบอวัยวะ ได้แก่...........................................

สัปดาห์ที่ 4 Embryo จะเริ่มมีอวัยวะต่างๆ ชัดเจน

ครบ 8 สัปดาห์ มีอวัยวะครบ เรียก ............................................

อายุ 8-9 สัปดาห์ มีนิวมือ นิวเท้า เจริญเห็นได้เด่นชัด บอกเพศได้

เดือนที่ 4-6 Fetus เคลื่อนไหวจากมีผม ขน ฟังเสียงภายนอกได้

เดือนที่ 7-9 Fetus โตมากขึน มีระบบประสาทและเจริญดีมาก

หลังจากแม่ตังครรภ์ได้ 280 วัน (กาหนดคลอด)
หัวของทารกออกมาก่อน หลังจากนัน 1 นาที ทารกเริ่มหายใจและตามด้วยเสียงร้อง

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา
PAGE 72

 หากช่วงตังครรภ์ 2 เดือนแรก ได้รับสิ่งแปลกปลอมอาจทาให้ทารกผิดปกติได้ เช่น


ยากล่อมประสาทพวก Thalidomide : ทาให้แขนและขาไม่เจริญ
แอลกอฮอล์ : ทาให้อวัยวะผิดปกติและแท้งได้
หัดเยอรมัน : ทาให้เกิดอันตรายต่อการเจริญของสมอง หัวใจ เลนส์ตา และหูส่วนใน
รังสีเอกซ์ : การเจริญผิดปกติ
 รก (Placenta) มีหน้าที่แลกเปลี่ยนแก๊สและรับอาหารจากแม่
 ถุงนาคร่า (Amnion) เป็นเยื่อบางใสบรรจุนาคร่า (Amniotic Fluid) ช่วยป้องกันการกระทบกระเทือน
ควบคุมอุณหภูมิให้คงที่และทาให้เอ็มบริโอเคลื่อนตัวได้สะดวก
 สายสะดือ (Umbilical Cord) เชื่อมต่อระหว่างรกกับเอ็มบริโอ
 ครบ 280 วัน นับจากวันแรกของการมีประจาเดือนครังสุดท้าย ฮอร์โมน Oxytocin จะกระตุ้นให้มดลูกบีบตัว
ถี่ขึนจนถุงนาคร่าแตก ทารกจะคลอดออกมา จากนันจึงมีการหายใจเกิดขึนเป็นครังแรกของชีวิต

 กระบวนการ Metamorphosis

 เป็นการเจริญเติบโตทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง

แบ่งออกเป็น 4 รูปแบบ คือ…

1. ..................................................................................
 ไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างขณะเจริญเติบโต
 พบในสัตว์ชันสูงและแมลงบางชนิด เช่น แมลงสามง่าม, แมลงหางดีด

2. ..................................................................................
 มีการเปลี่ยนแปลงรูปร่างทีละน้อยๆ ในขณะเจริญเติบโต
 ตัวอ่อนมีอวัยวะบางอย่างไม่ครบ เรียกว่า ..........................................................
 พบในแมลงพวกตั๊กแตน แมลงสาบ จิงหรีด เรือด เหา ไรไก่ ปลวก จักจัน่ เพลีย

3. ..................................................................................
 มีการเปลี่ยนรูปร่างเด่นชัด มีตัวอ่อนในนา หายใจโดยเหงือก เรียก ............................
 พบในแมลงปอ ชีปะขาว

4. ..................................................................................
 มีการเปลี่ยนรูปร่างครบ 4 ขัน (egg  lava  pupa  adult)
 พบในแมลงส่วนใหญ่ เช่น ผีเสือ ยุง แมลงวัน ด้วง ผึง ต่อ แตน มด ไหม ฯลฯ

Bio – Absolute By…Aj.Nunnapat ph.


สาระสาคัญชีววิทยา

Das könnte Ihnen auch gefallen