Sie sind auf Seite 1von 3

For the Thai Traditional Recycle Costume Contest organized

by the Thai Studies Department, which will take place on the


Vichakarn Day, as class 1101, we were assigned to design and
create an outfit that can actually be worn by a model. The concept
of our class’s Thai traditional costume that we came up with is the
Kinnaree, which is a Thai mythical creature who is half-bird and
half-maiden. Kinnaree is usually viewed as one of the ideals of
Thai beauty and grace, as well as equality and femininity. In order
to complement the idea of Kinnaree, the two main colors that we
will use to create our costume are gold and pink. The color gold
will represent the greatness and the magnificence of our class
while the color pink will represent the delicacy and the caring of
the members of our class.
As the overall costume must be made from recycled
materials, the class members had given out ideas for each part of
the outfits. The different parts will be constructed from different
kinds of components. We planned to airbrush them with the colors
pink and gold in the end. The first part we started with was the
crown, which will be created from magazine papers and a water
bottle. Next, the Sabai will be made from snack bags cut into
small triangular pieces. There will also be a flower made from the
same material decorate on the chest of the model. For the third
part, we will carve paper plates with Thai traditional patterns and
form them into Sinh. The accessory that will be added up to the
crown, the Sinh and the Sabai are the belt and the wings. We will
use a piece of cardboard and soda tabs to make the buckle and
the strap of the belt. The wings, which are the most important part
that will complete our dress, are planned to be constructed from
plywood and/or bagasse. As a finishing touch, we will make a
Thai woven fish mobile using plastic straws for the fish and a
plastic book binding for the handle. There will be 9 fish on the
mobile in which will represent the advancement as the number 9
in Thai is pronounced the same as the Thai word for
advancement.
In order to get the most efficient product, each person in the
class is assigned to do a work, according to their proficiencies.
The work was divided into 8 parts in which will be the main
responsibilities of each group. There will be the essay writing
team (writes out the description of how the costume will look like
and the concept behind it), the designers (design the costume
based on the concept), the materials gathering team (searches for
recycled materials to use in the dress making process), the
crafting team (puts together the materials to create the costume),
the video editors (film and edit videos), the coordinators
(cooperate with the teachers and the other classes), the makeup
team (prepares the model for the fashion show), and the model
(puts on and displays the costume on the runway).

เนื่ องจากภาควิชาภาษาไทยไดม ้ ีการจัดกิจกรรมการประดิษฐ์ชุดไทย ที่จะเกิด


ขึ้นในวันวิชาการ โดยมีการกาํ หนดหัวขอ ้ คือ การสร้างสรรคผ ์ ลงานจากวัสดุเหลือใช้
ทางห้อง 1101 ของเราไดท ้ าํ การประชุมและตกลงกันวา่ ในสว่ นของแนวคิดสาํ หรับ
การออกแบบชุด ห้องเรามีความคิดที่จะออกแบบชุดให้ออกมาเป็ นรู ปแบบคลา้ ยกินรี
ซ่ึงเป็ นสั ตวใ์ นตาํ นานชนิ ดหนึ่ งของไทยที่อาศั ยอยูใ่ นป่าหิมพานต์ มีลักษณะ คือ
ร่างกายทอ่ นบนเป็ นมนุ ษย ์ ทอ่ นลา่ งเป็ นนก และมีปีกบินได้ โดยสาเหตุท่ีเราเลือก
แนวคิดของกินรี นัน ้ มาจากการที่เราตอ ้ งการที่จะแสดงถึงความออ่ นชอ ้ ยงดงาม ความ
สงา่ งาม และความอลังการของห้อง 1101 ของเรา อีกทังส ้ ขี องชุดจะมีอยูด
่ ว้ ยกัน 2
สห ี ลักๆไดแ ี องและชมพู ซ่ึงเป็ นอีกหนึ่ งเครื่ องมือที่จะชว่ ยส่อ
้ ก่ สท ื ความหมายของชุด
ที่เราออกแบบ โดยสท ี องจะส่อ ื ถึงความยิง่ ใหญแ่ ละความมั่นคง และสชี มพูแสดงถึง
ความออ่ นโยนและความประณี ต
ในการที่จะสร้างผลงานชุดไทยขึ้นจากวัสดุเหลือใช้ สมาชิกในห้องไดม ้ ีการชว่ ย
กันออกแบบชิ้นสว่ นตา่ งๆของชุด โดยแตล่ ะสว่ นก็จะถูกประดิษฐ์ข้ึนจากวัสดุและ
อุปกรณ์ท่ีแตกตา่ งกันไป ในสว่ นแรกคือ สว่ นของหัวหรื อมงกุฎ จะทาํ ขึ้นจากขวดนํา้
พลาสติกและกระดาษแมกกาซีน สว่ นของสไบ ห้องเราไดค ้ ดิ วา่ จะใชถ ้ ุงขนม ซ่ึงถูก
ตัดเป็ นรู ปทรงสามเหลี่ยมขนาดเล็ก แลว้ นํามาเรี ยงตอ่ ๆกันให้เป็ นลายบนสไบ โดย
เราจะนําถุงขนมในสว่ นนี้ มามว้ นพับเป็ นดอกไม้ เพื่อประดับบริ เวณอกของสไบอีก
ดว้ ย สว่ นตอ่ มา คือ สว่ นของกระโปรงหรื อซิ่น ในสว่ นนี้ เราจะนําจานกระดาษมา
เเกะสลักเป็ นลายไทย แลว้ นํามาร้อยตอ่ กันเป็ นกระโปรงยาว และในสว่ นสุดทา้ ยนั่น
ก็คือ สว่ นของเครื่ องประดับตกแตง่ ชุด จะมีอยูส่ ามชิ้นหลัก ไดแ ้ ก่ เข็มขัด ที่จะนําฝาก
ระป๋องนํา้ มาร้อยตอ่ ๆกันเป็ นสายและแกะสลักกระดาษแข็งเป็ นหัวเข็มขัด ปี ก ซ่ึงเป็ น
สว่ นที่สาํ คัญที่สุดที่จะใชป ้
้ ระดับชุดทังในส ว่ นของมงกุฎ สไบ และซิ่น เนื่ องจากปี กจะ
เป็ นตัวที่ใชแ้ สดงถึงความเป็ นกินรี โดยจะนําไมอ ้ ั ดและกระดาษชานออ ้ ยมาเป็ นวัสดุ
หลักในการทาํ นอกจากนัน ้ เครื่ องประดับชิ้นสุดทา้ ย คือ โมบายปลาตะเพียน โดย
ปลาตะเพียนจะถูกสานขึ้นจากหลอดพลาสติกและสว่ นที่จับจะทาํ ขึ้นจากสั นปก
หนังสอ ื ในโมบายจะมีปลาตะเพียนทังหมด ้ 9 ตัว ซ่ึงจะเป็ นสั ญลักษณ์ของความ
กา้ วหน้า เพราะในภาษาไทย เลข ‘เกา้ ’ อา่ นออกเสยี งเหมือนคาํ วา่
‘กา้ ว’ ที่มีความหมายวา่ กา้ วหน้า กา้ วไกล และยังหมายถึงความยั่งยืนอีกดว้ ย
โดยการวางแผนเพื่อที่จะสามารถประดิษฐ์ผลงานขึ้นมาไดอ ้ ยา่ งประสบความ
สาํ เร็จและตรงตามที่ไดอ ้ อกแบบเอาไวต ้ ต
้ ั งแต ่ น
้ ห้องเราไดม ้ ีการแบง่ สมาชิกห้องออก
เป็ นกลุม ่ ๆตามความถนัดเพื่อให้ไดก ้ ารทาํ งานอยา่ งมีประสท ิ ธิภาพ ซ่ึงกลุม ้ ูกแบง่
่ ไดถ
ออกเป็ น 8 สว่ นตามหน้าที่ คือ ฝ่ายเขียนเรี ยงความ มีหน้าที่เขียนบรรยายลักษณะ
และแนวคิดของงาน ฝ่ายออกแบบ มีหน้าที่ออกแบบชุดตามแนวคิดซ่ึงไดต ้ กลงกันไว้
ฝ่ายจัดหาของ มีหน้าที่จัดหาของและวัสดุเหลือใชต ้ ามแผนที่วางไว้ ฝ่ายตัดเย็บ
มีหน้าที่นําวัสดุอุปกรณ์ท่ีหาไดม ้ ารวมเขา้ ดว้ ยกันตามที่ไดอ ้ อกแบบไว้ ฝ่ายถา่ ยทาํ และ
ตัดตอ่ วิดีโอ มีหน้าที่ถา่ ยขันตอนการท
้ าํ ตา่ งๆและตัดตอ่ เป็ นวิดีโอ ฝ่ายประสานงาน
มีหน้าที่ประสานงานกับคุณครู และห้องอื่นๆในเรื่ องของตัวงานและการเดินแบบ ฝ่าย
แตง่ หน้ามีหน้าที่แตง่ หน้าให้นางแบบ และตัวนางแบบ ซ่ึงจะสวมชุดที่ทาํ ขึ้นและเดิน
แสดงผลงานในวันวิชาการ

Das könnte Ihnen auch gefallen