Sie sind auf Seite 1von 14

ตรวจเเล้ว

ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์
บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆเกิดขึนและสิ้นสุดเวลาใด
บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆเกิดขึ้นมานานเท่าใด
บอกให้รู้ว่าเหตุการณ์ต่างๆ เหตุการณ์ใดเกิดขึ้นก่อนหรือหลัง เมื่อเปรียบเทียบกับเหตุการณ์
อื่นๆ
บอกให้รู้ถึงความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องชองเหตุการณ์ในประวัติศาสตร์
ทําให้เข้าใจและวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆในประวัติศาสตร์ได้ดีขึ้น

สมัย
ลักษณะการแบ่ง
ช่วงระยะเวลา
สมัยก่อนประวัติศาสตร์
แบ่งตามลักษณะเครื่องมือหิน

_________________________
แบ่งตามลักษณะเครื่องมือโลหะ
ยุคหินเก่า
ยุคหินใหม่
_______________________
ยุคสําริด
ยุคเหล็ก

สมัยประวัติศาสตร์
แบ่งตามราชอาณาจักรหรือราชธานี
สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์

ตรวจเเล้ว
Old age (ยุคโบราณ)- เริ่มซูเมเรียน ถึงอาณาจักรโรมันล่มสลาย
ยุคมืด- ประวัติศาสตร์ของยุโรปจางหายไป
ยุคกลาง- ไม่มีการสิ้นสุดที่แน่นอน

ยุคหินในประเทศไทย
ยุคหิน (old stone age)
มีอายุ 700,000-10,000 มาแล้ว
รู้จักใช้เครื่องมือหินกรวดกะเทาะหน้าเดียว
พบที่บ้านแม่ทะ และบ้านดอนมูล จ.ลําปาง แหล่งโบราณคดีผาบุ้ง จ.เชียงใหม่ ที่ถํ้าหลังโรงเรียน
ทับปริก จ.กระบี่ เป็นต้น
เรียกว่า หินกระเทาะ
รู้ว่าเคยใช้จากซากคน พบซากโครงกระดูก นํามาวิเคราะห์ตีความว่ามีอายุเท่าไหร่ แล้วจึงนํามา
สรุป

ดูยังไงว่าหินเก่า หินใหม่?
ดูจากเครื่องมือ วิวัฒนาการของเครื่องมือเครื่องใช้ ตัวอย่าง หินใหม่มีด้ามจับ

ยุคหินใหม่
มีอายุระหว่าง 10,000-4,000 ปีมาแล้ว
พบเครื่องมือหินขัดด้านหนึ่งคม ด้านหนึ่งมน ผิวเรียบ
พบภาชนะดินเผาแบบต่างๆ
พบที่บ้านเก่า จ.กาญจนบุรี ที่โคกพนมดี จ.ชลบุรี เป็นต้น
เรียกว่า หินขัด
ตัวอย่าง
ภาชนะดินเผา พบที่บ้านโคกพนมดี อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี
ขวานหินขัด พบที่โคกพนมดี อ.พนัสนิคม จ.ชลบุรี

ยุคหินใหม่มีเวลามาพัฒนาเพราะตั้งหลักแหล่งแน่นอนแล้ว มีการเพาะปลูก เลี้ยงสัตว์ มีเวลามาส


ร้างสรรค์งานประดิษฐ์ต่างๆ
สร้างบ้านตามแม่นํ้า นําดินมาใช้ประโยชน์ มนุษย์เริ่มใช้ไฟมาตั้งแต่หินเก่า ในด้านนํามาทํา
อาหาร

หินเก่าหินใหม่ เอาอะไรเป็นตัวแบ่ง?
ความปราณีตของเครื่องมือที่ใช้ เก่ายังไม่ค่อยมีความประณีต

ยุคโลหะในประเทศไทย
ยุคสําริด (ทองแดง กับดีบุก)
อายุระหว่าง 4,000-2,500 ปีมาแล้ว
รู้จักนําโลหะสําริดมาทําเครื่องมือเครื่องใช้
พบที่บ้านโคกพลับ จ.ราชบุรี ที่บ้านเขือง จ.อุดรธานี
ตัวอย่าง
หอกและขวานสําริด

ยุคเหล็ก
เริ่มเมื่อประมาณ 2,500 ปีมาแล้ว
สังคมมีความซับซ้อนมากขึ้น ผู้คนมีวิถีชีวิตที่เจริญขึ้น

ตรวจเเล้ว16สิงหา

เขตแดนอาณาจักรอยุธยาที่แผ่ขยายไปกว้างขวางที่สุดในรัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ปี 2148
เมืองหลวง    - กรุงเทพทวารดีศรีอยุธยา
- พิษณุโลก (2006-2031) [1]
- ลพบุรี (2209-2231)
ภาษา    ไทย
รัฐบาล    สมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบศักดินา
พระมหากษัตริย ์    
-     1893 - 1952    ราชวงศ์อู่ทอง
-     1952 - 2112    ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
-     2112 - 2172    ราชวงศ์สุโขทัย
-     2172 - 2231    ราชวงศ์ปราสาททอง
-     2231 - 2310    ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
ยุคประวัติศาสตร์    ยุคกลาง และยุคเรอเนซองส์
-     สถาปนา    1893
-     รัฐร่วมประมุขกับอาณาจักรสุโขทัย    2011
-     เริ่มติดต่อกับโปรตุเกส    2054
-     เสียกรุงครั้งที่หนึ่ง    2112
-     ประกาศอิสรภาพ    2127
-     การยึดอํานาจของสมเด็จพระเพทราชา    2231
-     เสียกรุงครั้งที่สอง    7 เมษายน 2310
ปัจจุบันเป็นส่วนหนึ่งของ    ประเทศไทย, ประเทศลาว, ประเทศกัมพูชา, ประเทศพม่า
อาณาจักรอยุธยา เป็นอาณาจักรของชนชาติไทยในลุ่มแม่นํ้าเจ้าพระยาในช่วง พ.ศ. 1893 ถึง
พ.ศ. 2310 มีกรุงศรีอยุธยาเป็นศูนย์กลางอํานาจหรือราชธานี อาณาจักรอยุธยานับว่าเจริญ
รุ่งเรืองจนอาจถือได้ว่าเป็นอาณาจักรที่รุ่งเรืองมั่งคั่งที่สุดในภูมิภาคสุวรรณภูมิ ทั้งยังมีความ
สัมพันธ์ทางการค้ากับหลายชาติ จนถือได้ว่าเป็นศูนย์กลางการค้าในระดับนานาชาติเช่น จีน
เวียดนาม อินเดีย ญี่ปุ่น เปอร์เซีย รวมทั้งชาติตะวันตก เช่น โปรตุเกส สเปน ดัตช์ (ฮอลันดา) และ
ฝรั่งเศส ซึ่งในช่วงเวลาหนึ่งเคยสามารถขยายอาณาเขตประเทศราชถึงรัฐฉานของพม่า
อาณาจักรล้านนา มณฑลยูนนาน อาณาจักรล้านช้าง อาณาจักรขอม และคาบสมุทรมลายูใน
ปัจจุบัน

จตุสดมภ์แบ่งออกเป็น 4 กรม มีหัวหน้าเรียกว่า ขุน ฐานะเทียบเท่าเสนาบดี แบ่งออกเป็น


1 กรมเวียง ความสงบบ้านเมือง
2 กรมวัง ดูแลพระราชสํานัก ตัดสินคดี
3 กรมคลัง ดูแลพระราชทรัพย์ เตรียมเสบียง
4 กรมนา ดูแลไร่ที่ดิน

ต่อมาสมัยสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ มีการจัดตั้งกรมขึ้นสองกรม ได้แก่ กรมมหาดไทย ซึ่ง


ดูแลกิจการพลเรือน โดยมีสมุหนายกเป็นอัครเสนาบดีดูแล และกรมกลาโหม ซึ่งดูแลกิจการ
ทหาร โดยมีสมุหพระกลาโหมดูแล จตุสดมภ์นั้นให้มาขึ้นกับกรมมหาดไทย แล้วมีการเปลี่ยนชื่อ
และเพิ่มหน้าที่

รุงศรีอยุธยาเป็นเกาะซึ่งมีแม่นํ้าสามสายล้อมรอบ ได้แก่ แม่นํ้าป่าสักทางทิศตะวันออก, แม่นํ้า


เจ้าพระยาทางทิศตะวันตกและทิศใต้ และแม่นํ้าลพบุรีทางทิศเหนือ เดิมทีบริเวณนี้ไม่ได้มีสภาพ
เป็นเกาะ แต่สมเด็จพระเจ้าอู่ทองทรงดําริให้ขุดคูเชื่อมแม่นํ้าทั้งสามสาย เพื่อให้เป็นปราการ
ธรรมชาติป้องกันข้าศึก

ตรวจเเล้ว28กันยา

การปฏิรูปการปกครองสมัยพระบรมไตรโลกนาถ

      การบริหารราชการแผ่นดินในอยุธยาตอนต้น มีกรมใหญ่ 4 กรม เรียกว่า จตุสดมภ์ กรมเวียง


กรมวัง กรมคลัง กรมนา มีหน้าที่ใกล้เคียงกับชื่อนั้น ๆ
      การปกครองส่วนภูมิภาคใช้ระบบเมืองลูกหลวงในเขตเมืองชั้นใน เมืองสําคัญเช่น สุพรรณบุรี
ลพบุรี เป็นลักษณะแบบนครรัฐมีอิสระในการปกครองตนเอง อยุธยาส่งเจ้านายชั้นสูงไป
ปกครอง
สาเหตุปัจจัยการปฏิรูปการปกครองของสมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
1.      เพื่อความมั่นคงในเสถียรภาพของพระมหากษัตริย์อยุธยา
2.      ทรงต้องการควบคุมเมืองลูกหลวงอย่างใกล้ชิด
3.      อาณาจักรได้ขยายตัวออกไปมาก คือได้ผนวกเอาอาณาจักรสุโขทัย จําเป็นต้องหาระบบ
การปกครองให้รัดกุมกว่าเดิม
4.      เมืองลูกหลวงเกิดปัญหากับอยุธยามาโดยตลอด  
-    เมืองลูกหลวงมีอิสระในการปกครองตนเองมากเกินไป การควบคุมจากเมืองหลวงเป็นแบบ
หลวม ๆ
-    กษัตริย์อยุธยาพระองศ์ใดไม่มีความสามารถ ก็จะไม่สามารถควบคุมเมืองลูกหลวงไว้ได้
-    เจ้านายชั้นสูงที่ปกครองเมืองลูกหลวงมักจะนํากําลังคนเข้ามาชิงอํานาจในเมืองหลวงบ่อย
ครั้ง เช่น
-    สมเด็จพระราเมศวร ถูก ขุนหลวงพระงั่วผู้ครองเมืองสุพรรณบุรย ี ึดอํานาจ จนพระองศ์ต้องไป
ครองเมืองลพบุรี
-    พระเจ้าทองลันโอรสของขุนหลวงพระงั่ว ถูก พระราเมศวร ผู้ครองเมืองลพบุรียึดอํานาจแล้ว
จับพระองศ์ประหารชีวิต
-    สมเด็จพระรามราชาธิราช ถูก เจ้านครอินทร์ เจ้าเมืองสุพรรณบุรียึดอํานาจ
5.      จากการทําศึกกับเขมรหลายครั้ง แต่ละครั้งได้กวาดต้อนพราหมณ์ที่มีความรู้ และวัฒนธรรม
การปกครองเข้ามาด้วย
การปฏิรูปการปกครอง
1.      จัดการปกครองในส่วนภูมิภาค
-    ยกเลิกระบบเมืองลูกหลวงในเขตหัวเมืองชั้นใน เช่นสุพรรณบุรี ลพบุรี
-    ลดฐานะให้เป็นเมืองเล็กหรือเมืองจัตวา เรียกรวมกันว่ามณฑลราชธานี
-    ยกเลิกการให้เจ้านายไปปกครองเมืองเหล่านั้น
-    ส่งขุนนางออกไปปกครองแทน เพื่อรวมอํานาจการปกครองส่วนภูมิภาคมาสู่ศูนย์กลาง เจ้า
เมืองมีตําแหน่งเป็นเพียงผู้รั้งไม่ได้เป็นเจ้านายขั้นเต็ม

2.      การจัดการปกครองเมืองประเทศราช
-    เมืองประเทศราชเช่น สุโขทัย นครศรีธรรมราช ทวาย ตะนาวศรี ได้ถูกผนวกมาเป็นส่วนหนึ่ง
ของอยุธยา เรียกว่าเมืองพระยามหานคร
-    จัดการปกครองให้รัดกุมโดยการจัดเจ้านายออกไปปกครอง
-    เมืองเหล่านี้มีอํานาจการปกครองในระดับหนึ่ง กึ่งอิสระจากอยุธยา
-    เมืองพระยามหานครที่สําคัญที่สุดคือ พิษณุโลก อยุธยาให้ความสําคัญมากเพราะ เป็นที่ฐาน
มั่นในการในการขยายอํานาจไปยังล้านนาและฐานที่มั่นในการควบคุมอาณาจักรสุโขทัย 
3. การจัดการปกครองในส่วนกลาง
-    แบ่งการบริหารราชการแผ่นดินออกเป็น 2 ฝ่าย คือฝ่ายทหารและฝ่ายผลเรือน
-    ตั่งกรมใหม่อีก 2 กรม เพื่อรับผิดชอบงาน 2 ด้านนี้ กรมมหาดไทย และกรมกลาโหม กรมใหญ่
จึงมีเพิ่มเป็น 6 กรมด้วยกัน
-    กรมมหาดไทยควบคุมงานทางด้านผลเรือนทั่วราชอาณาจักร รวมถึง จตุสดมภ์ กรมเวียง
กรรมวัง กรมคลัง กรมนา ซึ่งเป็นกรมกองเดิมทั้ง 4 ด้วย
-    กรมกลาโหมควบคุมงานด้านการทหาร ควบคุมบัญชีไพร่พลที่สังกัดฝ่ายทหารทั่วราช
อาณาจักร รวมถึงอาวุธยุทโธปกรณ์ สัตว์พาหนะในใช้ในสงคราม
-    กรมกองส่วนใหญ่จึงถูกแบ่งออกออกเป็นฝ่ายทหารและพลเรือน แบ่งตามภูมิภาค เพื่อจัดสรร
งานให้เป็นไปตามระเบียบตามลักษณะงาน
-    แบ่งอํานาจขุนนางออกเป็นสองฝ่ายให้ถ่วงดุลกัน เพื่อป้องกันไม่ให้บรรดาขุนนางร่วมมือกัน
ได้ จนเป็นภัยต่อราชบัลลังก์
-    ในยามศึกสงคราม ทุกกรมกองมีหน้าที่เป็นทหารในการรบ
-    จัดระเบียบการปกครองและสังคมโดยกําหนดระบบศักดินา
ผลของการปฏิรูปการปกครอง
1.      อยุธยามีเสถียรภาพในการปกครอง การปกครองในส่วนภูมิภาคเป็นไปอย่างรัดกุม
2.      เจ้านายถูกควบคุม อํานาจการปกครองตกเป็นสิทธิ์ขาดของกษัตริย์แต่เพียงผู้เดียว กษัตริย์
มีความมั่นคง
3.      เกิดกรมกองย่อย มากมาย รับผิดชอบงานตามลักษณะของงาน แต่ก็เกิดการทํางานก้าวก่าย
และซํ้าซ้อนกัน
4.      ภายหลัง เมืองพระยามหานครมีพฤติกรรมต่อต้านและพยายามแยกตัวออกจากเมืองหลวง
จนเป็นเหตุทําให้อยุธยาเสียกรุงครั้งที่ 1 และเป็นเหตุให้เกิดการปฏิรูปการปกครองในสมัยของ
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช

การจัดการปกครองสมัยอยุธยาตอนปลาย
                     การจัดการปกครองแบบรวมอํานาจเข้าสู่ส่วนกลางตามที่สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ
ทรงวางรากฐานไว้คงใช้มาตลอด  แต่ได้มีการแก้ไขปรับปรุงให้เหมาะกับสภาพบ้านเมืองยิ่งขึ้น
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์  (พ.ศ. 2199 – 2231)    
ทรงให้ยกเลิกการแยกความรับผิดชอบของอัครมหาเสนาบดีเกี่ยวกับงานด้านพลเรือน
ของสมุหนายก  และงานด้านทหารของสมุหกลาโหม โดยให้สมุหกลาโหมรับผิดชอบทั้งด้าน
ทหารและพลเรือน  ปกครองหัวเมืองฝ่ายเหนือและหัวเมืองอีสาน  ส่วนหัวเมืองตอนกลาง  และหัว
เมืองชายทะเลตะวันออก  ให้อยู่ในอํานาจของเมืองหลวงโดยตรง  ทั้งนี้ด้วยพระองค์ทรงเห็น
ว่าการแยกกิจการฝ่ายทหารและฝ่ายทหารและฝ่ยพลเรือนจากกันอย่างเด็ดขาด  ไม่อาจทําได้
อย่างได้ผลดี
โดยเฉพาะในยามสงคราม  บ้านเมืองต้องการกําลังพลในการสู้รบจํานวนมาก  ชาย
ฉกรรจ์ต้องออกรบเพื่อชาติบ้านเมืองทุกคน  จึงเป็นการยากในทางปฏิบัต ิ  อีกประการหนึ่ง  มีบท
เรียนที่แสดงให้เห็นว่า  เมื่อให้สมุหกลาโหมคุมกําลังทหารไว้มาก  ทําให้สามารถล้มราชวงศ์
กษัตริย์ลงได้
สังคมอยุธยาตอนปลายเป็นสังคมของชนชั้น  คือ  มีการแบ่งชั้นว่าใครชั้นสูงกว่า
ใคร  การแบ่งชนชั้นนี้คงจะได้รับอิทธิพลมาจากขอมในสมัยสุโขทัย

1. ฝ่ายทหาร มีสมุหกลาโหม เป็นผู้บังคับบัญชา ตําแหน่งเทียบเท่าอัครมหาเสนาบดี มี


บรรดาศักดิ์เป็นพระยามหาเสนาบดี ทําหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับราชการทหารและการป้องกัน
ประเทศ
        2. ฝ่ายพลเรือน มีสมุหนายก เป็นหัวหน้า ทําหน้าที่ควบคุมดูแลเกี่ยวกับงานราชการพลเรือ
นทั่วๆ ไป มีบรรดาศักดิ์เป็นเจ้าพระยาจักรีศรีองครักษ์

        กรมเมือง เปลี่ยนเป็น นครบาล


        กรมวัง เปลี่ยนเป็น ธรรมาธิกรณ์
        กรมคลัง เปลี่ยนเป็น โกษาธิบดี
        กรมนา เปลี่ยนเป็น เกษตราธิการ
สาเหตุการเสียกรุงครั้งที2

1.ด้อยประสิทธิภาพในการทําสงคราม
2.ความอ่อนแอเรื่องกําลังคน
3.แผ่นยุทธศาสตร์ของพม่าเปลี่ยนไปจากแต่ก่อน
4.การสูญเสียขุนนางที่มีความสามารถจากเรื่องเเย่งอํานาจ 5.การถูกปิดกั้นทางเศรษฐกิจ
ตรวจเเล้ว17ตุลาคม
 

 การปฎิรูปประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5

สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว เป็นสมัยที่ประสบกับภัยการคุกคามจากลัทธิ
จักรวรรดิ์นิยมจากอังกฤษและฝรั่งเศส เป็นสมัยที่มีการสร้างความมั่งคงแห่งสถาบันกษัตริย์ทรง
ดึงอานาจคืนจากขุนนางและทรงปฏิรูปการปกครอง เศรษฐกิจให้สอดคล้องกัน รวมทั้งดาเนิน
นโยบายพัฒนาคนโดยปฏิรูปสังคม ส่งเสริมการศึกษา และมีการรวมกลุ่มของข้าราชการเสนอ
แนะการปรับปรุงแผ่นดินร.ศ.103
การปรบปรุงการปกครองประเทศในตอนต้นรัชกาล ทรงตั้งสภาที่ปรึกษาราชการแผ่นดิน
หรือเรียกว่า “เคาน์ซิล ออฟ สเตท” (Council of State) และสภาที่ปรึกษาในพระองค์ หรือเรียก
ว่า “ปรีวี เคาน์ซิล” (Privy Council)

  ปัจจัยสาคัญที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลง 2 ประการ
-ปัจจัยภายในประเทศ
ความตึงเครียดภายในราชสานักจากการแต่ตั้งพระองค์เจ้ายอดยิ่งประยูรยศ เป็นกรม
พระราชวังบวรวิชัยชาญ โดยเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุริยวงค์ ( ผู้สาเร็จราชการแทนพระองค์)
นาไปสู่ความแตกแยกของขุนนาง จนเกิดวิกฤตการณ์วังหน้ากับวังหลวง พ.ศ. 2418
-ปัจจัยภายนอกประเทศ
การล่าอาณานิคมของตะวันตก ทาให้ต้องปฏิรูปประกาศ การเปลี่ยนแปลงเนื่องมาจากปัจจัย
ภายในประเทศ ทรงวางรากฐานอานาจใน พ.ศ. 2413 ตั้ง กรมทหารมหาดเล็ก และออกพระราช
บัญญัติหอรัษฎากรพิพัฒน์ พ.ศ. 2416 เป็นการรวบรวมเก็บภาษีเข้าสู่ศูนย์กลาง ผลที่ตามมาคือ
เกิดผลกระทบต่อผลประโยชน์ของขุนนาง
เมื่อทาพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ทรงทาการปฏิรูปทางการปกครอง การคลังและสังคมโดยตรง
ทรงออกพระราชบัญญัติ 4 ฉบับ เป็นการปฏิรูปด้านกฎหมาย การคลังและสังคม
- พระราชบัญญัติว่าด้วยรัฐมนตรีสภาและองคมนตรีสภา
- พระราชบัญญัติว่าด้วยการจัดการพระคลังทั้งปวง
- พระราชบัญญัติตุลาการศาลรับสั่ง
- พระราชบัญญัติเกษียณอายุลูกทาส ลูกไทย

การปกครองส่วนกลาง
     การปรับปรุงการบริหารราชการในส่วนกลางของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
รัชกาลที่ 5 คือ ทรงยกเลิกตําแหน่งอัครเสนาบดี 2 ตําแหน่ง คือ สมุหกลาโหม และสมุหนายก รวม
ทั้งจตุสดมภ์ โดยแบ่งการบริหารราชการออกเป็นกระทรวงตามแบบอารยประเทศ และให้มี
เสนาบดีเป็นผู้ว่าการแต่ละกระทรวง กระทรวงที่ตั้งขึ้นทั้งหมด เมื่อ พ.ศ.2435
มี 12 กระทรวง

-มหาดไทย รับผิดชอบหัวเมืองฝ่ายเหนือและเมืองลาว
- กลาโหม รับผิดชอบหัวเมืองฝ่ายใต้ หัวเมืองฝ่ายตะวันออก ตะวันตก และเมืองมลายู
-ต่างประเทศ รับผิดชอบเกี่ยวกับการต่างประเทศ
-วัง รับผิดชอบเกี่ยวกับกิจการในพระราชวัง
-เมืองหรือนครบาล รับผิดชอบเกี่ยวกับการตํารวจและราชทัณฑ์
-เกษตราธิการ รับผิดชอบเกี่ยวกับการเพาะปลูก เหมืองแร่ ป่าไม้
-คลัง รับผิดชอบเกี่ยวกับภาษีอากรและงบประมาณแผ่นดิน
-ยุติธรรม รับผิดชอบเกี่ยวกับการชําระคดีและการศาล
-ยุทธนาธิการ รับผิดชอบเกี่ยวกับการทหาร
-ธรรมการ รับผิดชอบเกี่ยวกับการศึกษา การสาธารณสุขและสงฆ์
-โยธาธิการ รับผิดชอบเกี่ยวกับการก่อสร้าง ถนน คลอง การช่าง ไปรษณีย์โทรเลข และรถไฟ
ต่อมาไปอยู่กระทรวงกลาโหม เนื่องจากมีหน้าที่คล้ายคลึงกัน
-มุรธาธิการ รับผิดชอบเกี่ยวกับการรักษาตราแผ่นดิน และงานระเบียบสารบรรณ ต่อมาไปอยู่
กระทรวงวัง เนื่องจากมีหน้าที่คล้ายคลึงกัน
      

ภายหลังได้ยุบกระทรวงยุทธนาธิการไปรวมกับกระทรวงกลาโหม และยุบกระทรวงมุรธาธิ
การไปรวมกับกระทรวงวัง คงเหลือเพียง 10 กระทรวง เสนาบดีทุกกระทรวงมีฐานะเท่าเทียมกัน
และประชุมร่วมกันเป็นเสนาบดีสภา ทําหน้าที่ปรึกษาและช่วยบริหารราชการแผ่นดินตามที่พระ
มหากษัตริย์ทรงมอบหมาย เพราะอํานาจสูงสุดเด็ดขาดเป็นของพระมหากษัตริย์ตามระบอบ
สมบูรณาญาสิทธิราชย์

ให้ยกเลิกเมืองพระยามหานคร ชั้นเอก โท ตรี จัตวา และหัวเมืองประเทศราช โดยจัดเป็น


มณฑลเทศาภิบาล ให้อยู่ในความดูแลของกระทรวงมหาดไทยเพียงกระทรวงเดียว ปรากฎว่า
ในปี พ.ศ. 2449 ได้จัดแบ่งพระราชอาณาจักรออกเป็น 18 มณฑลดังนี้
มณฑลลาวเฉียงหรือมณพลพายัพ มีเชียงใหม่เป็นศูนย์กลาง
มณฑลลาวพวนหรือมณฑลอุดร มีศูนย์กลางอยู่ที่หนองคาย
มณฑลลาวกาวหรือมณฑลอีสาน มีศูนย์กลางอยู่ที่จําปาศักดิ์
มณฑลเขมร หรือมณฑลบูรพา มีศูนย์กลางอยู่ที่พระตะบอง
มณฑลลาวกลางหรือมณฑลราชสีมา มีศูนย์กลางอยู่ที่นครราชสีมา
มณฑลภูเก็ต มีศูนย์กลางอยู่ที่ภูเก็ต
- มณฑลพิษณุโลก มีศูนย์กลางอยู่ที่พิษณุโลก
- มณฑลปราจีนบุรี มีศูนย์กลางอยู่ที่ปราจีนบุรี
- มณฑลราชบุรี มีศูนย์กลางอยู่ที่ราชบุรี
- มณฑลนครชัยศรี มีศูนย์กลางอยู่ที่นครปฐม
- มณฑลนครสวรรค์ มีศูนย์กลางอยู่ที่นครสวรรค์
- มณฑลกรุงเก่า มีศูนย์กลางอยู่ที่อยุธยา
- มณฑลนครศรีธรรมราช มีศูนย์กลางอยู่ที่นครศรีธรรมราช
- มณฑลไทรบุรี มีศูนย์กลางอยู่ที่ไทรบุรี
- มณฑลจันทบุรี มีศูนย์กลางอยู่ที่จันทบุรี
- มณฑลปัตตานี มีศูนย์กลางอยู่ที่ปัตตานี
- มณฑลชุมพร มีศูนย์กลางอยู่ที่ชุมพร
- มณฑลกรุงเทพฯ มีศูนย์กลางอยู่ที่กรุงเทพมหานคร
-มณฑลกรุงเทพฯ ประกอบด้วย 6 เมืองได้แก่ พระนคร ธนบุรี ปทุมธานี นนทบุรี - ---
นครเขื่อนขันธ์ และสมุทรปราการ
ในปี พ.ศ. 2440 ทรงตราพระราชบัญญัติปกครองท้องที่ขึ้น สําหรับจัดการปกครองในเขตอําเภอ
ตําบลและหมู่บ้าน ตามแผนภูมิดังนี้

การปฏิรูปส่วนท้องถิ่นและภูมิภาคจัดอย่างไร
-การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค การปฏิรูปการปกครองส่วนภูมิภาค มีการปกครองตาม
ระบบเทศาภิบาล ซึ่งได้ระบุไว้ใน ประกาศจัดปันหน้าที่ระหว่างกระทรวงกลาโหมและกระทรวง
มหาดไทย ร.ศ.113 โดยรวมหัวเมืองหลายเมืองเข้าเป็น 1 มณฑล มีข้าหลวงเทศาภิบาลเป็นผู้
บังคับบัญชาการมณฑลละ 1 คน ซึ่งต้องขึ้นตรงต่อกระทรวงมหาดไทย การเปลี่ยนระบบการ
ปกครองหัวเมืองเป็นระบบเทศาภิบาลไม่ได้ดําเนินการเป็นไปอย่างราบรื่น เพราะว่ารัฐบาล
ประสบปัญหาหลายอย่าง เช่น การขาดบุคลากรในการปฏิบัติงาน รัฐบาลกลางขาดงบประมาณ
ทําให้รัฐบาลต้องเร่งรัดภาษี, 3 มณฑลแรก (มณฑล พิษณุโลกปราจีนบุรี มณฑลนครราชสีมา)
ดินแดนสยามมีมณฑลอยู่ 19มณทณในสมัยรัชการที5่

-หลัก 6 ประการของคณะราษฎร-
1.) รักษาความเป็นเอกราชทั้งหลาย เช่น เอกราชในบ้านเมือง ในทางศาล ในทางเศรษฐกิจ
ฯลฯ ของประเทศไว้ให้มั่นคง
2.) รักษาความปลอดภัยในประเทศ ให้การประทุษร้ายต่อกันลดน้อยลงให้มาก
3.) ต้องบํารุงความสมบูรณ์ของราษฎรในทางเศรษฐกิจ โดยรัฐบาลใหม่จะจัดหางานให้
ราษฎรทํา จะวางโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ ไม่ปล่อยให้ราษฎรอดอยาก
4.) ต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที่เป็นอยู่
5.) ต้องให้ราษฎรได้มีเสรีภาพ มีความเป็นอิสระ เมื่อเสรีภาพนี้ไม่ขัดต่อหลัก 4 ประการข้าง
ต้น
6.) ให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร

ปกเหลือง นาย ปรีดี พนมยงค์(คล้ายคอมมิวนิสต์)


ปกขาว รัชกาลที7่ (ที่ไม่เห็นด้วย)

กบฎบวรเดช -กบฏบวรเดชเกิดขึ้นในวันที่ 11 ตุลาคม พ.ศ. 2476 นําโดยพระวรวงศ์เธอ พระองค์


เจ้าบวรเดช อดีตเสนาบดีกระทรวงกลาโหม
-ต้องการใช้สมบูรณาญาสิทธิราชย์

จอมพล ป. พิบูลสงคราม
ลัทธิชาตินิยม/รัฐนิยม - เกิดจากความสํานึกรักชาติบ้านเกิดของตน,และแรงกดดันทางการ
เมืองที่ต้องการแผ่อํานาจของตนให้คนในเชื้อชาติเดียวกันร่วมมือกันในการต่อสู้กับ
ชนชาติอื่น
การมุ่งมั่นพัฒนาประเทศไทย ให้มีความเจริญรุ่งเรืองทัดเทียมนานาอารยประเทศ มีการปลุก
ระดมให้คนไทยรู้สึกรักชาติ โดยออกประกาศสํานักนายกรัฐมนตรี ฃ ซึ่งบางอย่างได้ประกาศ
เป็นกฎหมายในภายหลัง หลายอย่างกลายเป็นวัฒนธรรมของชาติ

-รัฐนิยม-

ฉบับที่ 1: เรื่อง การใช้ชื่อประเทศ ประชาชน และสัญชาติ


ฉบับที่ 2: เรื่อง การป้องกันภัยที่จะบังเกิดแก่ชาติ
ฉบับที่ 3: เรื่อง การเรียกชื่อชาวไทย
ฉบับที่ 4: เรื่อง การเคารพธงชาติ เพลงชาติ และเพลงสรรเสริญพระบารมี
ฉบับที่ 5:เรื่อง ให้ชาวไทยพยายามใช้เครื่องอุปโภคบริโภคที่มีกําเนิดหรือทําขึ้นในประเทศไทย
ฉบับที่ 6    :เรื่อง ทํานองและเนื้อร้องเพลงชาติ
ฉบับที่ 7:เรื่อง ชักชวนให้ชาวไทยร่วมกันสร้างชาติ
ฉบับที่ 8:เรื่อง เพลงสรรเสริญพระบารมี
ฉบับที่ 9    :เรื่อง ภาษาและหนังสือไทยกับหน้าที่พลเมืองดี
ฉบับที่ 10:เรื่องการแต่งกายของประชาชนชาวไทย
ฉบับที่ 11:เรื่อง กิจประจําวันของคนไท
ฉบับที่ 12:เรื่อง การช่วยเหลือคุ้มครองเด็ก คนชราหรือคนทุพพลภาพ
ตรวจเเล้ว

- ลัทธิชาตินิยม/รัฐนิยม:

1. นับแต่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีในพ.ศ. 2481 ได้ดําเนิน


นโยบายชาตินิยม เช่น ออกกฎหมายคุ้มครองอุตสาหกรรมภายในประเทศ, มีการสงวน
อาชีพบางอย่างไว้เฉพาะคนไทย เช่น ช่างตัดผม การผลิตเกลือ พนักงานขับรถโดยสาร
การทําพระพุทธรูป เป็นต้น รวมทั้งปลูกฝังให้ประชาชนนิยมใช้สินค้าไทย ด้วยคําขวัญ
ว่า “ไทยทํา ไทยใช้ ไทยเจริญ
- สาเหตุของการรัฐประหาร 20 ตุลาคม 2501:              

1. ความไม่พอใจต่อระบบการเมืองแบบประชาธิปไตยตะวันตก 
2. ฐานะการคลังของรัฐบาล  อันเป็นผลสืบเนื่องมาจากรัฐบาลชุด พล.ท.ถนอม กิตติ
3. ภัยคอมมิวนิสต์
4. สภาพการณ์โดยทั่วไปของสังคมไทยฃ

-14 ตุลา 2513


              :วันมหาวิปโยค เป็นเหตุการณ์ที่นักศึกษาและประชาชนในประเทศไทย มากกว่า 5 แสนคน ได้รวม
ตัวกันเพื่อเรียกร้องรัฐธรรมนูญจากรัฐบาลเผด็จการ จอมพลถนอม กิตติขจร โดยในเหตุการณ์นี้มีผู้เสีย
ชีวิต 77 ราย บาดเจ็บ 857 ราย และสูญหายอีกจํานวนมากเหตุการณ์ เริ่มมาจากการที่จอมพลถนอม กิตติ
ขจร ทําการรัฐประหารตัวเองในวันที่ 17 พฤศจิ กายน พ.ศ. 2514 โดยนักศึกษาและประชาชนมองว่า
เป็นการสืบทอดอํานาจตนเองจากจอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์ ซึ่งในขณะนั้นจอมพลถนอมจะต้องเกษียณ
อายุราชการเนื่องจากอายุครบ 60 ปี อีกทั้งจอมพลประภาส จารุเสถียร บุคคลสําคัญในรัฐบาล ก็มิได้รับ
การยอมรับเหมือนจอมพลถนอม แต่กลับต่ออายุราชการให้ตนเอง ประกอบกับข่าวคราวเรื่องทุจริต
คอร์รัปชั่นในวงราชการต่าง ๆ สร้างความไม่พอใจอย่างมากแก่ประชาชน

-6ตุลา 2519
:จากเหตุ การณ์ ประท้วงเรียกร้องประชาธิปไตยของประชาชนในวันที่ 14 ตุ ลาคม 2516 ได้ ทํา ให้
รัฐบาลเผด็จการทหารของจอมพลถนอม กิตติขจร พ้นจากอํานาจ และต้องเดินทางออกนอกประเทศ
พร้อมจอมพลประภาส จารุเสถียร และพ.อ.ณรงค์ กิตติขจรสุดท้ายรัฐบาลของพลเอกเกรียงศักดิ์ ชมะ
นันท์ ที่เข้ามาแทนที่ ธานินทร์ ตามมติของคณะปฏิวัติก็ได้นิรโทษกรรมให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องทั้งหมดใน
เหตุการณ์ 6 ตุลาคม ทําให้นักศึกษาพ้นจากการดําเนินคดี แต่ขณะเดียวกันก็ทําให้เจ้าหน้าที่รัฐและผู้ที่มี
ส่วนกับความรุนแรงไม่ต้องกังวลว่าจะได้รับโทษในภายหลังเช่นกัน

-2535 พฤษภาทมิฬ
เป็นเหตุการณ์ทป ี่ ระชาชนเคลื่อนไหวประท้วงรัฐบาลที่ พล.อ.สุจินดา คราประยูร เป็นนายกรัฐมนตรี
และต่อต้านการสืบทอดอํานาจของ คณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) ระหว่างวันที่ 17-20
พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ซึ่งเป็นการรัฐประหารรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ.
2534 นําไปสู่เหตุการณ์ปราบปรามและปะทะกันระหว่างเจ้าหน้าที่ตํารวจและทหารกับประชาชนผู้
ชุมนุม มีผู้เสียชีวิตและบาดเจ็บจํานวนมากนําไปสู่การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
เหตุการณ์ครั้งนี้ เริ่มต้นมาจากเหตุการณ์รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 หรือ 1 ปีก่อนหน้าการ
ประท้วง ซึ่ง รสช. ได้ยึดอํานาจจากรัฐบาล ซึ่งมีพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เป็น นายกรัฐมนตรี โดยให้
เหตุผลหลักว่า มีการฉ้อราษฎร์บังหลวงอย่างหนักในรัฐบาล และรัฐบาลพยายามทําลายสถาบันทหาร
โดยหลังจากยึดอํานาจ คณะ รสช. ได้เลือก นายอานันท์ ปันยารชุน เป็นนายกรัฐมนตรีรักษาการ มีการ
แต่งตั้งสภานิติบัญญัติแห่งชาติขึ้น ตรวจเเล้ว

-การบ้าน-

1. ตลาดปสาน - ตลาดที่ใหญ่และมีความสําคัญที่สุดในสมัยสุโขทัย
2. พระคลังสินค้า - เป็นหน่วยงานควบคุม มีการดําเนินนโยบายแบบผูกขาดทางการค้า สินค้าทุกชนิดที่
จะผ่านเข้าออกในราชอาณาจักรต้องผ่านหน่วยงานนี้ก่อน พระคลังสินค้ามีสิทธิ์ที่จะเลือกซื้อสินค้าที่
ชาวต่างชาตินําเข้ามาได้ก่อนประชาชน และซื้อได้ในราคาที่ถูกและยังกําหนดสินค้าประเภทต้องห้ามที่
ประชาชนไม่สามารถ
3. จิ้มก้อง - การเจริญทางพระราชไมตรีด้วยการถวายเครื่องราชบรรณาการ
4. สินค้าต้องห้าม ( ที่ขายไม่ได้ / ซื้อไม่ได้ ) - สินค้าที่หายากและมีราคาแพง ราษฎรต้องนํามาขายให้
ทางราชการ เพื่อทางราชการจะได้นําไปขายให้พ่อค้าต่างประเทศ จะได้เป็นการเพิ่มรายได้ให้แก่รัฐ
5. สินค้าผูกขาด - สินค้าที่ทางราชการต้องการและคิดว่ามีอันตรายหากพ่อค้าจะทําการติดต่อซื้อขายกัน
โดยตรง รัฐจึงผูกขาดการซื้อขายเสียเอง
6. สัญญาเบาว์ริ่ง เป็นสนธิสัญญาที่ราชอาณาจักรสยามทํากับสหราชอาณาจักร ลงนามเมื่อ 18 เมษายน
พ.ศ. 2398 โดยเซอร์จอห์น เบาว์ริง ราชทูตที่ได้รับการแต่งตั้งจากสมเด็จพระบรมราชินีนาถวิกตอเรีย
เข้ามาทําสนธิสัญญา ซึ่งมีสาระสําคัญในการเปิดการค้าเสรีกับต่างประเทศในสยาม มีการปรับเปลี่ยน
กฎระเบียบการค้าระหว่างประเทศ โดยการสร้างระบบการนําเข้าและส่งออกใหม่ เพิ่มเติมจากสนธิ
สัญญาเบอร์นี สนธิสัญญาฉบับก่อนหน้าซึ่งได้รับการลงนามระหว่างสยามและสหราชอาณาจักรใน
พ.ศ. 2369
7. กรมท่าซ้าย = ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ทําหน้าที่ติดต่อกับต่างชาติเรื่องการค้าขายและการ
ต่างประเทศกับชาติที่อยู่ทางด้านซ้ายหรือทางตะวันออกของอ่าวไทย เช่น จีน ญี่ปุ่น เกาหลี รวมทั้งชาติ
ที่เข้ามาติดต่อทางด้านนั้น.
8. กรมท่าขวา = ส่วนราชการในสังกัดกรมพระคลัง ทําหน้าที่ติดต่อกับต่างชาติเรื่องการค้าขายและการ
ต่างประเทศ กับชาติที่อยู่ทางด้านขวาหรือทางตะวันตกของอ่าวไทย เช่น อินเดีย อิหร่าน รวมทั้งชาติที่
เข้ามาติดต่อทางด้านนั้น
9. เงินตรา = วัตถุที่ใช้ในการแลกขายซื้อเปลี่ยนที่รัฐกําหนดขึ้นให้ชําระหนี้ได้ตามกฎหมาย ในอดีตเริ่ม
จากการใช้เปลือกหอย อัญมณี พัฒนามาเป็นโลหะ ปัจจุบัน ใช้เป็น เหรียญกษาปณ์ และ ธนบัตร
10. ธนาคาร = คือสถาบันรับฝากเงินจากสาธารณชนทั่วไปและให้ผลตอบแทนเป็นดอกเบี้ยเงินฝาก แล้ว
นําเงินที่รับฝากไปปล่อยให้หน่วยงานเอกชนหรือรัฐบาลกู้และรับผลตอบแทนมาเป็นดอกเบี้ยเงินกู้ ต่าง
จาก ธนาคาร (น็อนแบงก์) ซึ่งเป็นสถาบันการเงินที่มิใช่ธนาคาร กล่าวคือไม่ได้รับอนุญาตประกอบ
กิจการธนาคารพาณิชย์จากธนาคารแห่งประเทศไทย ไม่สามารถเปิดบัญชีเงินฝากให้แก่ประชาชน แต่
สามารถให้บริการทางการเงินเฉพาะบางประเภทที่ใกล้เคียงกัน อาทิในการให้สินเชื่อระยะสั้น
11. ส่วย: เงินช่วยราชการที่เรียกเก็บจากราษฎรชายที่ไม่ได้รับราชการทหารเป็น รายบุคคล, รัชชูปการ
12. อากร(สวน/นา/บ่อนเบี้ย): ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งที่รัฐบาลเรียกเก็บ
13. จกอบ(จังกอบ): ภาษีที่เรียกเก็บจากสินค้าและขนาดของพาหนะที่บรรทุก
14. ฤชา: ค่าธรรมเนียม
15. ผูกปี้: เงินภาษีพิเศษทางการเรียกเก็บแทนการเกณฑ์แรงงานจากชาวจีนอพยพที่เป็น ผู้ชาย
สันนิษฐานว่าเริ่มเก็บในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ตอนต้นและเลิกในสมัยรัชกาลที่
ศาสนา

ลัทธิความเชื่อของมนุษย์ เกี่ยวกับการกําเนิดและสิ้นสุดของโลก หลักศีลธรรม ตลอดจนลัทธิพิธีที่


กระทําตามความเชื่อนั้น ๆ

ความสําคัญของศาสนา

1.)อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
2.)บ่อเกิดแห่งจรรยาธรรม  
3.)ทราบ ดี ชั่ว ถูกผิด
4.)มรดกทางสังคม
5.)เเหลงกําเนิดศิลปะ เเละ วัตนธรรม
6.)กลไกควบคุมสังคม
7.)ทําให้เป็นมนุษย์

ลักษณะ ของ ภาษา สี่ ประการ

1.)คําสอนนามธรรม
2.)เป็นหลักศีลธรรม
3.)คําสั่งสอนสูงสุด
4.) หลักเกณฑ์ในการปฏิบัติ

องค์ประกอบศาสนา 6 ประการ

1.)ศาสดาหรือผู้ก่อตั้ง
2.)หลักคําสอน
3.)ศาสนสถานหรือสถานที่ศักดิ์สิทธิ์
4.)สัญลักษฌ์

5.)สาวกหรือผู้สืบทอด
6.)พิธีกรรมทางศาสนา
ศาสนากับการดําเนินชีวิต

1.)จูงใจและผูกใจคนไว้ได้อย่างแน่นแฟ้น
ให้ความอดทนมุ่งมั่นยึดธรรมะและความถูกต้อง

2.)อิทธิพลต่อความเป็นอยู่ของคนในสังคม
ให้ความอ่อนน้อมทอมตนเรียบง่ายและประหยัด

3.)ทําให้บุคคลเข้าใจกัน อยู่ร่วมกันในสังคมได้อย่างมีความสุข
ให้รู้จักรับฟังเคารพความคิดเห็นผู้อื่น

โอวาทปาฏิโมกข์
ค์อ(หลักธรรมที่แสดงวันมาฆบูชา)เป็นหัวใจของพระพุทธศาสนา สรุปใจความได้เป็น 3 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 หลักการ ได้แก่ หลักธรรม 3 อย่าง ได้แก่ การไม่ทําบาปทั้งปวง (ละเว้นความชั่ว),การทํากุศล
ให้ถึงพร้อม (ทําความดี),การทําจิตใจให้บริสุทธิ์
ส่วนที่ 2 อุดมการณ์ มี 4 อย่าง คือสิ่งที่มุ่งหมายไว้ ได้แก่
- ความอดทนอดกลั้น
- นิพพาน (เป้าหมายสูงสุด หลุดพ้นจากวัฏฏสงสาร หรือการเวียน ว่าย ตาย เกิด)
- ความไม่เบียดเบียน,ความสงบ
ส่วนที่ 3 วิธีการ มี 6 อย่าง ได้แก่
- ไม่ว่าร้าย (ไม่ว่าลัทธิหรือศาสนาอื่น ไม่ทําร้ายคนต่างลัทธิ)
- ไม่ทําร้าย
- สํารวมในปาฏิโมกข์ (สํารวมอยู่ในศีลของพระ ปฏิบัติตนอยู่ในระเบียบวินัยอันดี)
- รู้จักประมาณในอาหาร (ตั้งแต่เที่ยง),อยู่ในสถานที่สงบ,เพียรฝึกฝนจิตใจให้สงบ

ชมพูทวีป
1. อินเดีย
2. เนปาล
3. ฎูฏาน
4. ปากีสถาน
5. อัฟกานิสถาน
ที่ชมพูทวีปมีต้นไม้ชนิดนึง ซึ่งขึ้นมาก มีต้นไม้ขนาดไหนใหญ่ชื่อว่าต้นหว้า มีดอกสีชมพูๆ

สมัยก่อนพุทธกาล
1. มีชนพื้นเมืองเดิมคือ ดราวิเดียน ผิวดํา หรือ มิลักขะ

Das könnte Ihnen auch gefallen