Sie sind auf Seite 1von 12

พุ ท ธชิ น ราชเวชสาร

BUDDHACHINARAJ MEDICAL JOURNAL 409

บทความปริทัศน Review Articles

การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมน
ในผหู ญิงอวน
Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception
in Obese Women

อภิรดี จิรฐั ติ กิ าลโชติ


Apiradee Jirattigalachote


ภาควิชาสูตศิ าสตร-นรีเวชวิทยา คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร 65000

Department of Obstetrics and Gynecology, Faculty of Medicine, Naresuan University, 65000

Corresponding author Email: apiradee.jirat@gmail.com

บทคัดยอ
ผหู ญิงอวนมีความเสีย่ งตอภาวะแทรกซอนในการตัง้ ครรภมากกวาผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติ การคุมกำเนิด
ทีม่ ปี ระสิทธิภาพเปนประเด็นทางอนามัยการเจริญพันธทุ สี่ ำคัญ เนือ่ งจากการเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตรของ
ฮอรโมนที่ใชคุมกำเนิดในผูหญิงอวนทำใหระดับฮอรโมนในเลือดต่ำกวาผูหญิงที่ดัชนีมวลกายปกติ สงผลตอ
ประสิทธิภาพในการคุมกำเนิด แตการศึกษาประสิทธิภาพของวิธคี มุ กำเนิดสวนใหญ ไมครอบคลุมถึงผหู ญิงทีน่ ้ำหนัก
ตัวมากกวารอยละ 130 ของน้ำหนักตัวทีเ่ หมาะสม แพทยและบุคลากรทางการแพทยไมมนั่ ใจในประสิทธิภาพของการ
คุมกำเนิดในผหู ญิงกลมุ นีไ้ ด บทความนีม้ วี ตั ถุประสงคเพือ่ นำเสนอผลการศึกษาการเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร
ตลอดจนประสิทธิภาพในการปองกันการตัง้ ครรภของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผหู ญิงอวน ไดแก ยาเม็ดคุมกำเนิด
ชนิดฮอรโมนรวม แผนแปะคุมกำเนิด วงแหวนคุมกำเนิด ยาฉีดคุมกำเนิด ยาฝงคุมกำเนิด หวงคุมกำเนิด และ
ยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉิน เพือ่ ใหบคุ ลากรทางการแพทยใชเปนขอมูลในการเลือกใชวธิ คี มุ กำเนิดทีเ่ หมาะสมตอไป

คำสำคัญ: การคุมกำเนิดดวยฮอรโมน ภาวะอวน เภสัชจลนศาสตร ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด


พุทธชินราชเวชสาร 2560;34(3):409-20.

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผูหญิงอวน
410 Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception in Obese Women
Abstract
The obese women have higher obstetric complication risk in pregnancies compared to women
with normal body mass index. The effectiveness of contraception for such women becomes an important
reproductive issue. Because the pharmacokinetic changes of hormonal contraceptive used in obese
women may lead to the lower serum hormone levels compared with normal weight women, resulting in
contraception effectiveness. But, most of the existing studies on contraception methods do not cover the
women weighed greater than 130% of ideal body weight. Physicians are not confident about the potential
of hormonal contraception effectiveness in this population. This article aimed to present the study results
on pharmacokinetic alternations as well as contraceptive effectiveness of hormonal contraception in obese
women, including combined oral contraceptives, contraceptive patch, contraceptive vaginal ring, injectable
contraceptives, contraceptive implant, intrauterine contraceptive device and emergency pills, with the aim
to provide physician information to select the appropriate contraception methods.

Keywords: hormonal contraception, obesity, pharmacokinetics, contraceptive effectiveness


Buddhachinaraj Med J 2017;34(3):409-20.

บทนำ
ขอมูลองคการอนามัยโลกในปค.ศ.2008 พบวา ชวยลดภาวะแทรกซอนขางตน แพทยและบุคลากร
ผูหญิงที่อายุมากกวา 20 ปมีภาวะน้ำหนักตัวเกิน ทางการแพทยควรตระหนักถึงความสำคัญของการ
(overweight, คาดัชนีมวลกาย 25-29.9 กิโลกรัม คุมกำเนิดในผูหญิงอวน รวมทั้งสามารถใหคำแนะนำ
ตอตารางเมตร) มากถึงรอยละ 35 และมีภาวะอวน ไดอยางเหมาะสม
(obesity, คาดัชนีมวลกายมากกวาหรือเทากับ 30
พฤติกรรมการคุมกำเนิดในผหู ญิงอวน
กิโลกรัมตอตารางเมตร) รอยละ 14 หรือประมาณ 297
จากการศึ ก ษาพฤติ ก รรมทางเพศของผู ห ญิ ง
ลานคน ประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใตมีผูหญิง
วัยเจริญพันธุที่มีภาวะน้ำหนักตัวเกินและภาวะอวน
ที่มีภาวะน้ำหนักตัวเกินรอยละ 14 และมีภาวะอวน
พบวา มีความถี่ของเพศสัมพันธและจำนวนคูนอน
รอยละ 31 สวนประเทศไทยมีความชุกของภาวะน้ำหนัก
ไมตา งจากผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติ6 แตไมคมุ กำเนิด
ตัวเกินและภาวะอวนในผูหญิงอายุตั้งแต 15 ปขึ้นไป
รอยละ 21.5 และใชวิธีคุมกำเนิดที่มีประสิทธิภาพต่ำ
มากถึงรอยละ 41.82
รอยละ 31.3 เชน ใชถุงยางอนามัย การนับระยะ
การตัง้ ครรภในผหู ญิงอวนเสีย่ งตอภาวะแทรกซอน
ปลอดภัย และการหลัง่ น้ำอสุจนิ อกชองคลอด สาเหตุที่
ทัง้ ตอมารดาและทารกมากกวาสตรีทนี่ ้ำหนักตัวปกติ3-
ผหู ญิงกลมุ นีม้ อี ตั ราการคุมกำเนิดต่ำเปนจากผหู ญิงอวน
5
โดยมารดามีความเสี่ยงตอภาวะครรภเปนพิษและ
มักคิดวาตนเองมีบุตรยาก กลัวน้ำหนักตัวเพิ่มขึ้น
เบาหวาน มีอตั ราการใชหตั ถการชวยคลอดและอัตรา
หรื อ กลัวภาวะลิ่มเลือดอุดตันในหลอดเลือดดำจาก
การผาตัดคลอดสูงขึ้นตลอดจนเกิดภาวะตกเลือดและ
การใชฮอรโมนคุมกำเนิด นอกจากนี้แพทยเองก็ไม
ติดเชือ้ หลังคลอดมากขึน้ สวนทารกมีความเสีย่ งตอภาวะ
มั่นใจในการแนะนำการคุ ม กำเนิ ด ที่ ป ลอดภั ย และมี
แทง ภาวะตายคลอด คลอดกอนกำหนด ความพิการ
ประสิทธิภาพ เนือ่ งจากผหู ญิงอวนมักมีโรคประจำตัว
แตกำเนิด ทารกตัวใหญ คลอดติดไหล และมีอัตรา
ซึง่ อาจเปนขอจำกัดในการใชวธิ คี มุ กำเนิดบางวิธี และ
การเขารักษาในหอผปู ว ยวิกฤตสูงขึน้ การปองกันการ
งานวิจัยเกี่ยวกับการคุมกำเนิด สวนมากไมไดศึกษา
ตัง้ ครรภและการวางแผนกอนตัง้ ครรภเปนปจจัยสำคัญ

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


พุ ท ธชิ น ราชเวชสาร
BUDDHACHINARAJ MEDICAL JOURNAL 411

ในผหู ญิงทีม่ นี ้ำหนักมากกวารอยละ 130 ของน้ำหนักตัว การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร


ทีเ่ หมาะสม (ideal body weight)7 การศึ ก ษา Pk ของฮอร โ มน levonorgestrel
(LNG) ในยาเม็ดคุมกำเนิดที่ประกอบดวย EE 20
การคุมกำเนิดดวยฮอรโมน
ไมโครกรัมและ LNG 100 ไมโครกรัม เปรียบเทียบ
การคุ ม กำเนิ ด ด ว ยฮอร โ มน มี ส องชนิ ด ตาม
ระหวางผหู ญิงอวนและผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติพบวา
ฮอรโมนทีเ่ ปนสวนประกอบ คือ 1) ชนิดฮอรโมนรวม
ผหู ญิงอวนมีคา ครึง่ ชีวติ (half-life) ของ LNG นานกวา
ประกอบดวยฮอรโมนเอสโตรเจน (estrogen) และ
ผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติถงึ 2 เทา (52.1 ± 29.4 h vs.
โปรเจสโตเจน (progestogen) ไดแก ยาเม็ดคุมกำเนิด
25.6 ± 9.3 h, p < 0.05)10 ระดับ LNG ในเลือดคงที่
ชนิดฮอรโมนรวม (combined contraceptive pills)
(time to reach steady state) หลังเริม่ กินยา 13.6 วัน
แผนแปะคุมกำเนิด (contraceptive patch) และวงแหวน
ในขณะทีผ่ หู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติใชเวลาเพียง 5.3 วัน11
คุมกำเนิด (contraceptive vaginal ring) 2) ชนิดฮอรโมน
สวนการศึกษา Pk ของฮอรโมนในยาเม็ดคุมกำเนิด
โปรเจสโตเจนอยางเดียว ไดแก ยาเม็ดคุมกำเนิด
ที่ประกอบดวย EE 30 ไมโครกรัมและ LNG 150
ชนิดฮอรโมนโปรเจสโตเจนอยางเดียว (progestin-only
ไมโครกรัม พบวาผหู ญิงอวนมีคา area under the curve
pills) ยาฉีดคุมกำเนิด (depot medroxyprogesterone
(AUC) และระดับยาสูงสุดในเลือด (Cmax) ของ EE ต่ำ
acetate) ยาฝงคุมกำเนิด (subdermal progestin
กวาสตรีทดี่ ชั นีมวลกายปกติ (AUC 1,077.2 vs. 1,413.7
implant) และหวงคุมกำเนิดทีม่ ฮี อรโมนโปรเจสโตเจน
pg x h/mL, p= 0.04; Cmax 85.7 vs. 129.5 pg/mL,
(levonorgestrel-releasing intrauterine system)
p < 0.01) แตคาครึ่งชีวิตและระดับยาต่ำสุดในเลือด
กลไกปองกันการตั้งครรภเกิดจากฮอรโมนโปรเจสโต
(Cmin) ระหวางผหู ญิงสองกลมุ ไมแตกตางกัน (half-life
เจนกดการหลัง่ ฮอรโมน follicular stimulating hormone
30.4 vs. 28.0 h, p 0.19; Cmin 31.5 vs. 34.2 pg/mL,
(FSH) และ luteinizing hormone (LH) ยับยัง้ การเจริญ
p = 0.37) สวนคา AUC, Cmax และ Cmin ของ LNG
ของฟองไข แ ละการตกไข นอกจากนี้ ยั ง ทำให มู ก
ก็ไมมคี วามแตกตางระหวางสตรีสองกลมุ เชนกัน (AUC
ปากมดลูกเหนียวขน และกดการเจริญของเยือ่ บุโพรง
79.9 vs. 85.8 ng x h/mL, p = 0.66; Cmax 5.6
มดลูก8
vs. 7.0 ng/mL, p 0.19; Cmin 2.6 vs. 2.5 ng/mL,
ผู ห ญิ ง อ ว นมี ก ารเปลี่ ย นแปลงทางสรี ร วิ ท ยาที่
p = 0.56) แตผหู ญิงอวนมีคา ครึง่ ชีวติ ของ LNG นานกวา
สงผลตอเภสัชจลนศาสตรของยา (pharmacokinetics,
(73.6 vs. 37.6 h, p < 0.01)12 มีขอมูลการศึกษา
Pk) ทั้งการดูดซึม การกระจาย การทำลาย และการ
Pk ในผหู ญิงอวนทีใ่ ชยาเม็ดคุมกำเนิดทีป่ ระกอบดวย
ขับยาออกจากรางกาย9 เนื่องจากผูหญิงอวนมีเลือด
EE20 ไมโครกรัมและ LNG 100 ไมโครกรัม พบวา
ไปเลี้ยงทางเดินอาหารเพิ่มขึ้น มี gastric emptying
การกินยาอยางตอเนื่องทุกวัน (continuous dosing)
time สั้น มวลกลามเนื้อลดลง แตมวลไขมันเพิ่มขึ้น
มีระดับฮอรโมนและประสิทธิภาพยับยั้งการเจริญของ
ระดับ sex hormone-binding globulin ลดลง ระดับ
ฟองไขไดเทากับผูหญิงที่น้ำหนักตัวปกติและกินยา
lipoproteins เพิม่ ขึน้ มีการเปลีย่ นแปลงการทำงานของ
แบบเปนรอบ (cyclic dosing)13
cytochrome มี enterohepatic recirculation และ renal
plasma flow เพิม่ ขึน้ urine pH ลดลง แตในปจจุบนั ยังมี ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด
การศึกษาผลของภาวะอวนตอPkของฮอรโมนที่ใชใน การศึกษาในผหู ญิงอวนทีใ่ ชยาเม็ดคุมกำเนิดชนิด
การคุมกำเนิดคอนขางนอย ฮอรโมนรวมพบวามีระดับ estradiol11,12 และ LH10
ในเลือดเพิ่มขึ้นแตการเจริญของฟองไขจากการตรวจ
ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม
ดวยคลื่นเสียงความถี่สูงไมตางจากผูหญิงที่น้ำหนัก
ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวมมีหลายชนิด
ปกติ12แสดงวาแมระดับฮอรโมนจากยาเม็ดคุมกำเนิด
แตกตางกันตามชนิดของฮอรโมนโปรเจสโตเจนและ
ของผูหญิงอวนมีคาต่ำ แตยังสูงพอที่สามารถปองกัน
ขนาดฮอรโมน ethinyl estradiol (EE) ซึ่งมีตั้งแต
การตกไขได11 อยางไรก็ตาม การศึกษาประสิทธิภาพ
15-35 ไมโครกรัมตอเม็ด
ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผูหญิงอวน
412 Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception in Obese Women
การคุมกำเนิดของยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม แผนแปะคุมกำเนิด
ยังมีขอ มูลทีข่ ดั แยงกัน แผนแปะคุมกำเนิด (Ortho-Evraฎ) ประกอบดวย
The European Active Surveillance Study on ฮอรโมน EE 0.75 มิลลิกรัม และ norelgestromin
Oral Contraceptives (EURAS-OC) สำรวจผูหญิง 6 มิลลิกรัม หลัง่ EE 20 ไมโครกรัมและ norelgestromin
ที่ใชยาเม็ดคุมกำเนิดจำนวน 59,510 คน พบอัตรา 150 ไมโครกรัมตอวัน วิธีการใชคือแปะผิวหนังทุก
การตัง้ ครรภไมแตกตางกันระหวางสตรีทดี่ ชั นีมวลกาย 7 วัน เปนเวลา 21 วัน และเวน 7 วัน8
ตางกัน (HR 1.00, 95%CI 0.98-1.03)14 นอกจากนี้ การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร
การศึกษาแบบไปขางหนาของ The Contraceptive เมื่ อ เปรี ย บเที ย บค า AUC ของ EE และ
CHOICE project ในผหู ญิงอายุ 14-45 ป ทีใ่ ชยาเม็ดคุม norelgestromin ระหว า งยาเม็ ด คุ ม กำเนิ ด ชนิ ด
กำเนิดจำนวน 1,523 คน ในชวงปค.ศ.2007-2011 ฮอรโมนรวมกับแผนแปะคุมกำเนิด พบวาคา AUC ของ
เก็บขอมูลติดตาม 2-3 ป พบวาอัตราการตัง้ ครรภของ ฮอรโมนทั้งสองชนิดของแผนแปะคุมกำเนิดสูงกวา
ผู ห ญิ ง ที่ น้ำ หนั ก ตั ว เกิ น และผู ห ญิ ง อ ว นกั บ ผู ห ญิ ง ที่ ยาเม็ดคุมกำเนิด แตคา AUC จะลดลงเมือ่ น้ำหนักตัว
ดัชนีมวลกายปกติไมแตกตางกัน (HR in overweight เพิม่ ขึน้ 19
group 1.16, 95%CI 0.76-1.78; HR in obesity
ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด
group 0.71, 95%CI 0.45-1.12)15 และจาก Cochrane
จากการศึกษาในระยะที่ 3 ของแผนแปะคุมกำเนิด
Systematic Review พบวา ผหู ญิงทีม่ นี ้ำหนักตัวเกิน
ในผูหญิง 3,319 คน เปนผูหญิงที่น้ำหนักมากกวา
และผหู ญิงอวนทีใ่ ชการคุมกำเนิดทีม่ ฮี อรโมนไมไดเสีย่ ง
90 กิโลกรัม นอยกวารอยละ 3 ในชวง 6-13 รอบเดือน
ตัง้ ครรภมากกวาผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติ16
พบมีการตั้งครรภ 15 คน เปนผูหญิงที่น้ำหนักตัว
อยางไรก็ตาม มีบางการศึกษาพบวาผูหญิงอวน
มากกวา 90 กิโลกรัมถึง 5 คน19 และจาก meta-analysis
ที่ใชยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวมมีความเสี่ยง
ในผูหญิงที่ใชแผนแปะคุมกำเนิด 1,523 คน พบวา
ตัง้ ครรภสงู กวาผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติเชน จากการ
ผู ห ญิ ง อ ว นมี ค วามเสี่ ย งตั้ ง ครรภ ม ากกว า ผู ห ญิ ง ที่
ศึกษาแบบไปขางหนาของ The International Active
ไมอวน (adjusted HR 8.80, 95%CI 2.54-30.5)18
Surveillance of Women Taking Oral Contraceptives
แตการศึกษา The Contraceptive CHOICE project
ในผหู ญิงของประเทศสหรัฐอเมริกาจำนวน 52,218 คน
พบวาอัตราการตั้งครรภในผูหญิงอวนไมไดมากขึ้น
พบว า อั ต ราการตั้ ง ครรภ สู ง ขึ้ น เมื่ อ ดั ช นี ม วลกาย
เมือ่ เทียบกับผหู ญิงน้ำหนักปกติ22
มากขึ้น โดยผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายมากกวาหรือเทากับ
35 กิโลกรัม ตอตารางเมตร มีอตั ราการตัง้ ครรภสงู กวา วงแหวนคุมกำเนิด
ผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายนอยกวา 1.5 เทา (HR 1.5, 95% วงแหวนคุมกำเนิด (NuvaRing®) ประกอบดวย
CI 1.3-1.8)17 และจากการวิเคราะหอภิมาน (meta- ฮอรโมน EE 2.7 มิลลิกรัม และ etonogestrel (ENG)
analysis) ศึกษาผลของภาวะอวนตอประสิทธิภาพ 11.7 มิลลิกรัม หลัง่ EE 15 ไมโครกรัม และ ENG 120
ของยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม วิเคราะหโดยใช ไมโครกรัมตอวัน วิธกี ารใชคอื ใสวงแหวนในชองคลอด
ข อ มู ล จากการศึ ก ษาในระยะที่ 3 ระหว า งป ค.ศ. นาน 21 วัน และถอดออก 7 วัน20
2000-2012 มีประชากร 14,024 คน อายุ 18-35 ป การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร
เปนผหู ญิงอวน 2,707 คน ผหู ญิงทีไ่ มอว น 11,317 คน ฮอร โ มนจากวงแหวนคุ ม กำเนิ ด ถู ก ดู ด ซึ ม ผ า น
พบอัตราการตั้งครรภในผูหญิงอวนมากกวาผูหญิง เยือ่ บุชอ งคลอด สามารถปองกันการตัง้ ครรภไดภายใน
ทีไ่ มอว นรอยละ 44 (HR 1.44, 95% CI 1.06-1.95, 24 ชัว่ โมง ระดับเอสโตรเจนในเลือดคงทีก่ วากลมุ ยาเม็ด
p = 0.018) แตคาประสิทธิภาพของการคุมกำเนิด คุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวมและแผนแปะคุมกำเนิด
(Pearl index) ไมตางกันระหวางผูหญิงทั้งสองกลุม โดยคา AUC ของ EE ต่ำกวาสตรีทใี่ ชยาเม็ดคุมกำเนิด
(3.14 vs.2.53)18 ชนิดฮอรโมนรวมและแผนแปะคุมกำเนิด 2.1 เทา
และ 3.4 เทาตามลำดับ (Nuvaring 10.4 ng x h/mL,
ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017
พุ ท ธชิ น ราชเวชสาร
BUDDHACHINARAJ MEDICAL JOURNAL 413

Patch 35.4 ng x h/mL, Pills 21.7 ng x h/mL, ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด


p < 0.05) สวนคา AUC ของ ENG เทากับยาเม็ดคุม จาก Cochrane Systemic Reviews พบว า
กำเนิดชนิดฮอรโมนรวม20 ผูหญิงที่มีน้ำหนักตัวเกินและผูหญิงอวนที่ใช DMPA
การศึกษา Pk ของฮอรโมนในวงแหวนคุมกำเนิด ชนิดฉีดใตผวิ หนังมีอตั ราการตัง้ ครรภไมตา งจากผหู ญิง
เปรียบเทียบระหวางผูหญิงที่ดัชนีมวลกาย 30-39.9 ที่ดัชนีมวลกายปกติ16แตในปจจุบันยังไมมีการศึกษา
กิโลกรัมตอตารางเมตรกับผูหญิงที่ดัชนีมวลกายปกติ เปรียบเทียบอัตราการตั้งครรภจากการฉีด DMPA
พบวาระดับ EE ในผูหญิงอวนนอยกวาผูหญิงที่ดัชนี เขากลามเนือ้ ระหวางผหู ญิงอวนและผหู ญิงทีน่ ้ำหนัก
มวลกายปกติ (15 vs. 22 pg/mL, p = 0.004) ปกติ
แตระดับ ENG (1,138 vs. 1,256 pg/mL, p = 0.39) ยาฝงคุมกำเนิด
และการเจริญของฟองไขแตกตางกันอยางไมมนี ยั สำคัญ ยาฝงคุมกำเนิดมี 2 ชนิด 1) ชนิดหลอดเดียว
ระหวางสองกลมุ 21 (single-rod etonogestrel implant, Nexplanon®)
ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด เป น ฮอร โ มน ENG 68 มิ ล ลิ ก รั ม หลั่ ง ENG 67
ในป จ จุ บั น ยั ง ไม มี ก ารศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพของ ไมโครกรัมตอวันในชวง 1-2 ปแรก และลดลงเปน
วงแหวนคุ ม กำเนิ ด ในผู ห ญิ ง ที่ น้ำ หนั ก ตั ว มากกว า 30 ไมโครกรัมตอวันในชวงปที่ 3 คุมกำเนิดได 3 ป
รอยละ 130 ของน้ำหนักตัวทีเ่ หมาะสม แตการศึกษาใน และ 2) ชนิดสองหลอด (two-rod levonorgestrel implant,
ระยะที่ 3 ของวงแหวนคุมกำเนิดในผหู ญิง 3,259 คน Jadelle®) ประกอบดวยฮอรโมน LNG 75 มิลลิกรัม
ทีม่ นี ้ำหนัก 88-272 ปอนด (40-123 กิโลกรัม) พบอัตรา ตอหลอด หลัง่ LNG 100 ไมโครกรัมตอวันในชวง 1 เดือน
การตัง้ ครรภไมแตกตางกันตามน้ำหนักตัว และไมพบ แรก จากนั้นลดลงเปน 40 ไมโครกรัมตอวันและ 30
การตั้ ง ครรภ ใ นผู ห ญิ ง ที่ น้ำ หนั ก ตั ว มาก (189-272 ไมโครกรัมตอวันในชวงหลังปที่ 1 และ 2 ตามลำดับ
ปอนด หรือ 85.7-123 กิโลกรัม)22 คุมกำเนิดได 5 ป8
ยาฉีดคุมกำเนิด การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร
ยาฉีดคุมกำเนิดเปนฮอรโมน medroxyprogesterone ผู ห ญิ ง ที่ ใ ช ENGimplant ทั้ ง ผู ห ญิ ง ที่ น้ำ หนั ก
acetate (MPA) ขนาด 150 มิลลิกรัม ฉีดเขากลามเนือ้ ปกติและผหู ญิงอวน มีระดับฮอรโมน ENG ในเลือดสูง
ทุก 12 สัปดาห หรือขนาด 104 มิลลิกรัม ฉีดใตผวิ หนัง พอยับยัง้ การตกไขได (90 pg/mL) ภายใน 24 ชัว่ โมง
ทุก 12 สัปดาห ยาทัง้ สองชนิดมีประสิทธิภาพในการ หลังฝงยา ระดับฮอรโมนในเลือดสูงสุดใน 150 ชัว่ โมง
คุมกำเนิดใกลเคียงกัน จากนัน้ ระดับคอยๆลดลง ผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายมากกวา
การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร หรือเทากับ 30 กิโลกรัมตอตารางเมตร มีคา Cmax
ฮอรโมน MPA ในเลือดสูงถึงระดับทีก่ ดการตกไขได ของฮอรโมน ENG ต่ำกวาผหู ญิงทีน่ ้ำหนักปกติรอ ยละ
(200 pg/mL) ภายใน 24 ชั่วโมงหลังฉีดยา ระดับ 47.6 (409 vs. 781 pg/mL, p = 0.11) จากการคำนวณ
ฮอรโมนคอนขางคงทีต่ ลอดเวลา 12 สัปดาห และมีระดับ ระดับ ENG ในเลือดลดลงจาก 133 pg/mL เปน 102
ใกลเคียงกันระหวางผูหญิงอวนและผูหญิงที่น้ำหนัก และ 98 pg/mL ในปที่ 1, 2 และ 3 ของการฝงยา25
ปกติ23 การศึกษาผลของภาวะอวนตอระดับฮอรโมน โดยระดับ ENG ในเลือดไมแตกตางกันระหวางผหู ญิง
MPA และการเจริญของฟองไขในผูหญิงที่ใช DMPA ที่ มี น้ำ หนั ก ตั ว เกิ น และผู ห ญิ ง อ ว นกั บ ผู ห ญิ ง ที่ ดั ช นี
ขนาด 104 มิลลิกรัมฉีดใตผวิ หนัง พบวาในผหู ญิงอวน มวลกายปกติตลอดชวงเวลา 3 ป26
มีระดับฮอรโมน MPA ในเลือดที่ 4, 8, 12 และ 24 สวนผหู ญิงทีใ่ ช LNG implant ระดับฮอรโมนในเลือด
สั ป ดาห ห ลั ง ฉี ด ยาน อ ยกว า ผู ห ญิ ง ที่ น้ำ หนั ก ปกติ ถึงจุดสูงสุดภายใน 24-72 ชั่วโมง27 จากนั้นลดลง
รอยละ 20-30 แตยงั คงมีระดับสูงกวา 200 pg/mL24 โดยผหู ญิงทีน่ ้ำหนักตัวมากกวา มีระดับฮอรโมนต่ำกวา
ผหู ญิงทีน่ ้ำหนักตัวนอยกวา (p < 0.05)28 อยางไรก็ตาม
ในผหู ญิงทีน่ ้ำหนักมากกวา 70 กิโลกรัมระดับฮอรโมน

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผูหญิงอวน
414 Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception in Obese Women
ยังคงสูงกวาระดับทีส่ ามารถคุมกำเนิดได (180 pg/mL) ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด
ตลอด 5 ปทฝี่ ง ยา ขอมูลจาก The Contraceptive CHOICE Project
ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด ศึกษาผูหญิงที่ใชหวงคุมกำเนิดมากกวา 4,200 คน
ป จ จุ บั น ยั ง ไม มี ก ารศึ ก ษาประสิ ท ธิ ภ าพในการ เปนผหู ญิงทีน่ ้ำหนักตัวเกินรอยละ 27 และผหู ญิงอวน
คุมกำเนิดของ ENG implant ในผหู ญิงทีน่ ้ำหนักตัวเกิน รอยละ 35 พบการตัง้ ครรภ 19 คนในชวง 3 ปทตี่ รวจ
หรื อ อ ว น แต จ ากข อ มู ล ของ The Contraceptive ติดตาม เปนผหู ญิงอวน 7 คนและผหู ญิงทีน่ ้ำหนักตัวเกิน
CHOICE Project ทีม่ ผี หู ญิงใชยาฝงคุมกำเนิด 1,168 คน 6 คน คิดเปนอัตราการตั้งครรภนอยกวา 1 ตอ 100
ร อ ยละ 28 มี ภ าวะน้ำ หนั ก ตั ว เกิ น และร อ ยละ 35 women-years ซึ่งไมตางจากผูหญิงที่ดัชนีมวลกาย
มีภาวะอวน พบวาในชวง 3 ปไมมกี ารตัง้ ครรภทงั้ ใน ปกติ29
ผหู ญิงทีน่ ้ำหนักปกติและผหู ญิงทีน่ ้ำหนักเกิน สวนผหู ญิง การคุมกำเนิดฉุกเฉิน
อวนมีอตั ราการตัง้ ครรภเพียง 0.23 ตอ 100 women- การคุมกำเนิดฉุกเฉินมี 3 วิธี คือ 1) กิน LNG 0.75
years29 มิลลิกรัม ทุก 12 ชัว่ โมง 2 ครัง้ หรือกิน 1.5 มิลลิกรัม
สำหรับประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดของ LNG ครั้ ง เดี ย วภายใน 5 วั น หลั ง มี เ พศสั ม พั น ธ 2) กิ น
implant มีการศึกษาในผหู ญิง 594 คน โดยเปนผหู ญิง ulipristal acetate (UPA) 30 มิลลิกรัม ครัง้ เดียวภายใน
ทีน่ ้ำหนักมากกวา 70 กิโลกรัม รอยละ 25.8 พบการ 5 วันหลังมีเพศสัมพันธ และ 3) ใสหว งคุมกำเนิดชนิด
ตัง้ ครรภในผหู ญิงน้ำหนักตัว 63, 68 และ 80 กิโลกรัม ทองแดงภายใน 7 วัน หลังมีเพศสัมพันธ ยากินปองกัน
อัตราการตัง้ ครรภในชวง 5 ป เทากับ 0.8 ตอ 100 women- การตัง้ ครรภดว ยการยับยัง้ การตกไขหรือทำใหไขตกชา
years ซึง่ ไมแตกตางกันระหวางกลมุ น้ำหนักตัว30 ออกไป สวนหวงคุมกำเนิดทำใหเยื่อบุโพรงมดลูก
หวงคุมกำเนิด เปลี่ ย นแปลงและขั ด ขวางการฝ ง ตั ว ของตั ว อ อ น 32
หวงคุมกำเนิดมี 2 ชนิด 1) หวงคุมกำเนิดชนิด แต ก ารคุ ม กำเนิ ด ฉุ ก เฉิ น ไม ส ามารถป อ งกั น การ
ทองแดง เชน Multiload-375, TCu-380A มีกลไก ตัง้ ครรภไดทงั้ หมด จากการศึกษาในผหู ญิงทีน่ ้ำหนัก
ปองกันการตั้งครรภ โดยทำใหเกิดการอักเสบของ ปกติ ถารับประทานยา LNG กอนเกิด LH surge
เยื่อบุโพรงมดลูก รบกวนการเคลื่อนที่ของเชื้ออสุจิ สามารถยับยัง้ การตกไขหรือทำใหการตกไขชา ออกไป
คุมกำเนิดได 5 และ 10 ปตามลำดับ และ 2) หวงคุม ไดรอยละ 93 แตยาไมสามารถยังยั้งการตกไขได
กำเนิดที่มีฮอรโมนโปรเจสโตเจน (levonorgestrel ถากินหลังเกิด LH surge แลว33
intrauterine system, LNG-IUS) ประกอบดวยฮอรโมน การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร
LNG 52 มิลลิกรัม หลั่ง LNG 20 ไมโครกรัมตอวัน การศึกษาทาง Pk ของ LNG ขนาด 1.5 มิลลิกรัม
มีกลไกปองกันการตั้งครรภโดยทำใหเกิดการอักเสบ กินครัง้ เดียว เปรียบเทียบระหวางผหู ญิงอวนกับผหู ญิง
ของเยื่อบุโพรงมดลูก ทำใหมูกปากมดลูกเหนียวขน ทีด่ ชั นีมวลกายปกติ พบวาคา AUC และระดับ Cmax
กดการเจริญของเยือ่ บุโพรงมดลูก และยับยัง้ การตกไข ในผูหญิงอวนอวนต่ำกวาผูหญิงที่ดัชนีมวลกายปกติ
ไดรอยละ 55.2 คุมกำเนิดได 5 ป8 หวงคุมกำเนิด (AUC 100.8 vs. 208.5 ng x h/mL, p ≤ 0.01;
มีประสิทธิภาพปองกันการตั้งครรภไดใกลเคียงกับ Cmax 10.8 vs. 18.2 ng/mL, p = 0.01)34 แตถา กิน
การทำหมัน มีอตั ราการตัง้ ครรภนอ ยกวารอยละ 1 ตอป เพิม่ เปน 3 มิลลิกรัม ระดับ Cmax เพิม่ ขึน้ อยางมีนยั
การเปลีย่ นแปลงทางเภสัชจลนศาสตร สำคัญ (10.52 ± 2.76 ng/mL, p 0.002) และมีระดับ
การศึกษาระดับ LNG เฉลีย่ ในเลือดในผหู ญิงทีใ่ ส ใกลเคียงผูหญิงที่ดัชนีมวลกายปกติ35 ขณะที่การกิน
LNG-IUS พบวาผหู ญิงอวนมีระดับ LNG ต่ำกวาผหู ญิง UPA 30 มิลลิกรัม คา AUC และ Cmax ระหวางผหู ญิง
ทีน่ ้ำหนักปกติ (119 vs. 165 pg/mL)31 อวนกับผูหญิงที่ดัชนีมวลกายปกติไมตางกัน (AUC
362.5 vs. 293.5 ng x h/mL, p= 0.15;Cmax 95.6
vs. 89.3 ng/mL, p= 0.70)34

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


พุ ท ธชิ น ราชเวชสาร
BUDDHACHINARAJ MEDICAL JOURNAL 415

ประสิทธิภาพการคุมกำเนิด เจริญของฟองไข ทำใหบางการศึกษาพบอัตราการ


ข อ มู ล จากการวิ เ คราะห อ ภิ ม าน เปรี ย บเที ย บ ตัง้ ครรภในผหู ญิงอวนสูงกวา17,18
ประสิทธิภาพระหวาง UPA และ LNG สำหรับการ คา AUC ของทัง้ ฮอรโมนเอสโตรเจนและโปรเจส-
คุมกำเนิดฉุกเฉิน พบวาผูหญิงที่ใช UPA มีอัตรา โตเจน ของแผนแปะคุมกำเนิดสูงกวายาเม็ดคุมกำเนิด
การตัง้ ครรภนอ ยกวา LNG (< 24 h 0.9 vs. 2.5%, แตขอมูลจากการศึกษาในระยะที่ 3 พบวาประมาณ
p = 0.035; <72 h 1.4 vs. 2.2, p = 0.046; < 120 h 1.3 รอยละ 30 ของการตัง้ ครรภ ขณะใชแผนแปะคุมกำเนิด
vs. 2.2, p = 0.025)36 สวนการใชหว งคุมกำเนิดชนิด เกิดในผหู ญิงทีน่ ้ำหนักตัวมากกวา 90 กิโลกรัม19 และ
ทองแดงภายใน 5 วัน หลังมีเพศสัมพันธ มีอัตรา จากการวิ เ คราะห อ ภิ ม านพบอั ต ราการตั้ ง ครรภ ใ น
การตัง้ ครรภเพียงรอยละ 0.0937 ผหู ญิงอวนมากกวาผหู ญิงทีไ่ มอว น18 ในเอกสารกำกับยา
ขอมูลจาก systematic review พบวาการใช LNG จึ ง มี ก ารระบุ ว า แผ น แปะคุ ม กำเนิ ด มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
ในผูหญิงอวนมีความเสี่ยงตั้งครรภมากกวาผูหญิงที่ คุมกำเนิดลดลงในผูหญิงที่น้ำหนักตัวมากกวา 90
ดัชนีมวลกายปกติ 4 เทา (OR 4.4, 95%CI 2.0-9.4) กิโลกรัม แมวา ผลจากการศึกษา The Contraceptive
และถาน้ำหนักตัวมากกวาหรือเทากับ 80 กิโลกรัม CHOICE Project พบวาอัตราการตัง้ ครรภในผหู ญิงอวน
มีอัตราตั้งครรภมากกวารอยละ 6 ซึ่งใกลเคียงกับ ไม ต า งจากผู ห ญิ ง ที่ น้ำ หนั ก ปกติ 15 ส ว นการศึ ก ษา
ผู ห ญิ งที่ไมใชการคุมกำเนิดฉุกเฉิน38 จากการศึกษา ระดับฮอรโมนของวงแหวนคุมกำเนิดในผูหญิงอวน
randomized trial ของ WHO-HRP ในป 1993-2010 แมวา ระดับของฮอรโมน EE ต่ำกวาผหู ญิงทีไ่ มอว น21
พบวาการใช LNG ขนาด 1.5 มิลลิกรัมหลังมีเพศสัมพันธ แตอัตราการตั้งครรภกลับไมตางกัน22 สันนิษฐานวา
ไมเกิน 120 ชัว่ โมง ในผหู ญิง 6,873 คน ผหู ญิงอวน ฮอรโมนจากวงแหวนคุมกำเนิดถูกดูดซึมผานเยื่อบุ
มีอตั ราการตัง้ ครรภรอ ยละ 1.2 มากกวาผหู ญิงทีด่ ชั นี ชองคลอดเขาสกู ระแสเลือดโดยตรง ไมผา นการทำลาย
มวลกายปกติถงึ 8 เทา (OR 8.27, 95%CI 2.70-25.37)39 ทีต่ บั ระดับฮอรโมนจึงยังสูงพอทีย่ บั ยัง้ การตกไขได
สวนการใช UPA ในผูหญิงอวนมีความเสี่ยงตั้งครรภ สำหรับการคุมกำเนิดที่มีฮอรโมนโปรเจสโตเจน
มากกวาผูหญิงที่ไมอวน 2 เทา (OR 2.6, 95% CI ชนิดเดียว ระดับฮอรโมนของทัง้ ยาฉีด DMPA และยา
0.9-7)38ขณะที่ประสิทธิภาพของหวงคุมกำเนิดชนิด ฝ ง คุ ม กำเนิ ด ในผู ห ญิ ง อ ว นมี ร ะดั บ ต่ำ กว า ผู ห ญิ ง ที่
ทองแดงไมแตกตางกัน40 ไมอว น24,25,28 แตยงั คงสูงกวาระดับทีย่ บั ยัง้ การเจริญของ
ฟองไขได ยาจึงมีประสิทธิภาพดีในการคุมกำเนิด16,29,30
วิจารณ อยางไรก็ตามในเอกสารกำกับยาของ ENG implant
งานวิ จั ย ที่ ศึ ก ษาการเปลี่ ย นแปลงทางเภสั ช ระบุวาประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดลดลงถาน้ำหนัก
จลนศาสตร แ ละประสิ ท ธิ ภ าพป อ งกั น การตั้ ง ครรภ มากกว า ร อ ยละ 130 ของน้ำ หนั ก ตั ว ที่ เ หมาะสม
ของวิธีคุมกำเนิดที่มีฮอรโมนในสตรีที่อวนมีอยูนอย เนือ่ งจากเปนกลมุ ผหู ญิงทีไ่ มไดอยใู นการศึกษา
สำหรับการคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม การศึกษาของ หวงคุมกำเนิดเปนวิธีที่มีประสิทธิภาพสูงในการ
ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวมพบวาระดับฮอรโมน ปองกันการตัง้ ครรภแมในผหู ญิงอวน29 เนือ่ งจากกลไก
ที่ต่ำสุด (Cmin) ของ EE และ LNG ในผูหญิงอวน หลักในการคุมกำเนิดเกิดจากการออกฤทธิ์ภายใน
ไมตา งจากผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติ12 ยาจึงสามารถ โพรงมดลูก ไมไดขึ้นอยูกับระดับฮอรโมนในเลือด
ยับยัง้ การเจริญของฟองไขได อัตราการตัง้ ครรภระหวาง แตการใสหวงคุมกำเนิดในผูหญิงกลุมนี้อาจมีปญหา
ผหู ญิงสองกลมุ ไมตา งกัน14-16 แตในชวงหยุดกินยา 7 วัน ใสยาก การใชคลื่นเสียงความถี่สูงเพื่อบอกตำแหนง
ระดับฮอรโมนในเลือดลดลง เมือ่ เริม่ กินยาแผงใหมกวา และความลึกของโพรงมดลูก รวมถึงตำแหนงการใสหว ง
ทีร่ ะดับฮอรโมนในเลือดของผหู ญิงอวนคงทีต่ อ งใชเวลา อาจชวยใหใสไดงา ยขึน้
นานกว า ผู ห ญิ ง ที่ ดั ช นี ม วลกายปกติ เนื่ อ งจากค า ในกรณีการคุมกำเนิดฉุกเฉินในผหู ญิงอวน การกินยา
ครึ่งชีวิตของฮอรโมน LNG ในผูหญิงอวนนานกวา LNG 1.5 มิลลิกรัมครัง้ เดียว มีระดับฮอรโมนในเลือด
ผู ห ญิ ง ที่ ดั ช นี ม วลกายปกติ11,12 อาจส ง ผลให มี ก าร ต่ำ กว า34 และมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพป อ งกั น การตั้ ง ครรภ
ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผูหญิงอวน
416 Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception in Obese Women
นอยกวาผหู ญิงทีด่ ชั นีมวลกายปกติ38,39 การเพิม่ ขนาด 5. Ehrenberg HM, Iams JD, Goldenberg RL,
ยาที่ กิ น อาจช ว ยให มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพดี ขึ้ น แต ต อ งรอ Newman RB, Weiner SJ, Sibai BM, et al.
การศึกษาเพิ่มเติม ขณะที่การใช UPA มีแนวโนม Maternal obesity, uterine activity, and the
ปองกันการตัง้ ครรภไดดกี วา LNG38 สวนการใชหว งคุม risk of spontaneous preterm birth. Obstet
กำเนิดชนิดทองแดงยังคงมีประสิทธิภาพดี เทากับผหู ญิง Gynecol 2009;113:48-52.
ทีด่ ชั นีมวลกายปกติ40 6. Kaneshiro B, Jensen JT, Carlson NE, Harvey
SM, Nichols MD, Edelman AB. Body mass
สรุป index and sexual behavior. Obstet Gynecol
สตรีวยั เจริญพันธทุ มี่ ภี าวะอวนควรไดรบั คำแนะนำ 2008;112:586-92.
เกี่ยวกับภาวะแทรกซอนที่อาจเกิดขึ้นขณะตั้งครรภ 7. Callegari LS, Nelson KM, Arterburn DE,
และควรได รั บ คำปรึ ก ษาเรื่ อ งการคุ ม กำเนิ ด ที่ มี Prager SW, Schiff MA, Schwarz EB. Factors
ประสิทธิภาพดี จากขอมูลในปจจุบนั การศึกษาสวนใหญ associated with lack of effective contraception
พบวาผหู ญิงอวนมีระดับฮอรโมนในเลือดต่ำกวาผหู ญิง among obese women in the United States.
ที่ไมอวน แตการวิธีคุมกำเนิดดวยฮอรโมนทั้งยาเม็ด Contraception 2014;90:265-71.
คุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม วงแหวนคุมกำเนิด ยาฉีด 8. Fritz MA, Speroff L. Clinical Gynecology
DMPA ยาฝงคุมกำเนิด และหวงคุมกำเนิด ยังคงมี Endocrinology and Infertility, 8th ed. United
ประสิทธิภาพในการปองกันการตั้งครรภที่ดี ยกเวน States of America: Lippincott Williams
แผนแปะคุมกำเนิดและยาเม็ดคุมกำเนิดฉุกเฉินชนิด and Wilkins; 2011.
LNG มีประสิทธิภาพลดลงในผหู ญิงอวน 9. Edelman AB, Cherala G, Stanczyk FZ.
Metabolism and pharmacokinetics of
เอกสารอางอิง contraceptive steroids in obese women:
1. World Health Organization. Global health a review. Contraception 2010;82:314-23.
observatory data [Internet]. 2017 [cited 2017 10. Edelman AB, Carlson NE, Cherala G,
Jul 10]. Available from: www.who.int/gho/ncd/ Munar MY, Stouffer RL, Cameron JL, et al.
risk_factors/obesity_text/en/ Impact of obesity on oral contraceptive
2. Wichai Aekplakorn. Obesity and overweight. pharmacokinetics and hypothalamic-
In: Wichai Aekplakorn, editor. The Thai Health pituitary-ovarian activity. Contraception
Survey by Physical Examination 5, 2014. 2009;80:119-27.
Nonthaburi: Aksorn graphic and design 11. Edelman AB, Cherala G, Munar MY, Dubois
publication Limited partnership; 2016. B, McInnis M, Stanczyk FZ, et al. Prolonged
P134-41. monitoring of ethinyl estradiol and
3. Heslehurst N, Simpson H, Ells LJ, Rankin J, levonorgestrel levels confirms an altered
Wilkinson J, Lang R, et al. The impact of pharmacokinetic profile in obese oral
maternal BMI status on pregnancy outcomes contraceptives users. Contraception
with immediate short-term obstetric resource 2013;87:220-6.
implications: a meta-analysis. Obes Rev 12. Westhoff CL, Torgal AH, Mayeda ER, Pike
2008;9:635-83. MC, Stanczyk FZ. Pharmacokinetics of a
4. Shaw GM, Carmichael SL. Prepregnant combined oral contraceptive in obese and
obesity and risks of selected birth defects normal-weight women. Contraception. 2010;
in offspring. Epidemiology 2008;19:616-20. 81:474-80.

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


พุ ท ธชิ น ราชเวชสาร
BUDDHACHINARAJ MEDICAL JOURNAL 417

13. Edelman AB, Cherala G, Munar MY, McInnis ethinylestradiol pharmacokinetics in three
M, Stanczyk FZ, Jensen JT. Correcting oral hormonal contraceptive formulations:
contraceptive pharmacokinetic alterations the vaginal ring, the transdermal patch
due to obesity: a randomized controlled and an oral contraceptive. Contraception
trial. Contraception 2014;90:550-6. 2005;72:168-74.
..
14. Dinger JC, Cronin M, Mohner S, 21. Westhoff CL, Torgal AH, Mayeda ER,
Schellschmidt I, Minh TD, Westhoff C. Petrie K, Thomas T, Dragoman M, et al.
Oral contraceptive effectiveness according Pharmacokinetics and ovarian suppression
to body mass index, weight, age, and during use of a contraceptive vaginal ring
other factors. Am J Obstet Gynecol 2009; in normal-weight and obese women. Am
201:263.e1-9. J Obstet Gynecol 2012;207:39.e1-6.
15. McNicholas C, Zhao Q, Secura G, Allsworth 22. Westhoff C. Higher body weight does
JE, Madden T, Peipert JF. Contraceptive not affect Nuva Ring’s efficacy. Presented
failures in overweight and obese at the American College of Obstetricians
combined hormonal contraceptive users. and Gynecologist Annual Clinical Meeting.
Obstet Gynecol 2013;121:585-92. San Francisco; May 2005.
16. Lopez LM, Bernholc A, Chen M, Grey TW, 23. Jain J, Dutton C, Nicosia A, Wajszczuk C,
Otterness C, Westhoff C, et al. Hormonal Bode FR, Mishell DR Jr. Pharmacokinetics,
contraceptives for contraception in ovulation suppression and return to ovulation
overweight or obese women. Cochrane following a lower dose subcutaneous
Database Syst Rev 2016;8:CD008452. formulation of Depo-Provera. Contraception
17. Dinger J, Minh TD, Buttmann N, Barden- 2004;70:11-8.
heuer K. Effectiveness of oral contraceptive 24. Segall-Gutierrez P, Taylor D, Liu X,
pills in a large U.S. cohort comparing Stanzcyk F, Azen S, Mishell DR Jr.
progestogen and regimen. Obstet Gynecol Follicular development and ovulation
2011;117:33-40. in extremely obese women receiving
18. Yamazaki M, Dwyer K, Sobhan M, Davis D, depo-medroxyprogesterone acetate
Kim MJ, Soule L, et al. Effect of obesity on subcutaneously. Contraception 2010;81:
the effectiveness of hormonal contra- 487-95.
ceptives: an individual participant data 25. Mornar S, Chan LN, Mistretta S, Neustadt A,
meta-analysis. Contraception 2015;92: Martins S, Gilliam M. Pharmacokinetics
445-52. of the etonogestrel contraceptive implant
19. Zieman M, Guillebaud J, Weisberg E, in obese women. Am J Obstet Gynecol
Shangold GA, Fisher AC, Creasy GW. 2012;207:110.e1-6.
Contraceptive efficacy and cycle control 26. Morrell KM, Cremers S, Westhoff CL, Davis
with the Ortho Evra/Evra transdermal AR. Relationship between etonogestrel
system: the analysis of pooled data. Fertil level and BMI in women using the
Steril 2002 ;77:S13-8. contraceptive implant for more than 1 year.
20. van den Heuvel MW, van Bragt AJ, Contraception 2016;93:263-5.
Alnabawy AK, Kaptein MC. Comparison of
ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017
การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผูหญิงอวน
418 Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception in Obese Women
27. Sivin I,.. Lahteenmaki
.. P, Mishell DR Jr, Alvarez in women with normal and obese body
F, Diaz S, Ranta S, et al. First week drug mass index. Contraception 2017;95:464-9.
concentrations in women with levonorgestrel 35. Edelman AB, Cherala G, Blue SW, Erikson
rod or Norplant capsule implants. DW, Jensen JT. Impact of obesity on the
Contraception 1997;56:317-21. pharmacokinetics of levonorgestrel-based
28. Sivin I, Wan L, Ranta S, Alvarez F, Brache emergency contraception: single and double
V, Mishell DR Jr, et al. Levonorgestrel dosing. Contraception 2016;94:52-7.
concentrations during 7 years of continuous 36. Glasier AF, Cameron ST, Fine PM, Logan
use of Jadelle contraceptive implants. SJ, Casale W, Van Horn J, et al. Ulipristal
Contraception 2001;64:43-9. acetate versus levonorgestrel for emergency
29. Xu H, Wade JA, Peipert JF, Zhao Q, Madden contraception: a randomised non-inferiority
T, Secura GM. Contraceptive failure rates trial and meta-analysis. Lancet 2010;375:
of etonogestrel subdermal implants in 555-62.
overweight and obese women. Obstet 37. Cleland K, Zhu H, Goldstuck N, Cheng L,
Gynecol 2012;120:21-6. Trussell J. The efficacy of intrauterine devices
30. Sivin I, Alvarez F, Mishell DR Jr, Darney P, for emergency contraception: a systematic
Wan L, Brache V, et al. Contraception with review of 35 years of experience. Hum
two levonorgestrel rod implants. A 5-year Reprod 2012;27:1994-2000.
study in the United States and Dominican 38. Jatlaoui TC, Curtis KM. Safety and
Republic. Contraception 1998;58:275-82. effectiveness data for emergency
31. Seeber B, Ziehr SC, Gschlieber A, Moser C, contraceptive pills among women with
Mattle V, Seger C, et al. Quantitative obesity: a systematic review. Contraception
levonorgestrel plasma level measurements 2016;94:605-611.
in patients with regular and prolonged use 39. Festin MP, Peregoudov A, Seuc A, Kiarie J,
of the levonorgestrel-releasing intrauterine Temmerman M. Effect of BMI and body
system. Contraception 2012;86:345-9. weight on pregnancy rates with LNG as
32. Gemzell-Danielsson K. Mechanism of emergency contraception: analysis of four
action of emergency contraception. WHO HRP studies. Contraception
Contraception 2010;82:404-9. 2017;95:50-4.
33. Croxatto HB, Brache V, Pavez M, Cochon L, 40. Turok DK, Godfrey EM, Wojdyla D, Dermish
Forcelledo ML, Alvarez F, et al. Pituitary- A, Torres L, Wu SC. Copper T380 intrauterine
ovarian function following the standard device for emergency contraception:
levonorgestrel emergency contraceptive highly effective at any time in the menstrual
dose or a single 0.75-mg dose given on the cycle. Hum Reprod 2013;28:2672-6.
days preceding ovulation. Contraception
2004;70:442-50.
34. Praditpan P, Hamouie A, Basaraba CN,
Nandakumar R, Cremers S, Davis AR, et al.
Pharmacokinetics of levonorgestrel and
ulipristal acetate emergency contraception

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


พุ ท ธชิ น ราชเวชสาร
BUDDHACHINARAJ MEDICAL JOURNAL 419

แบบทดสอบ

1. หญิงตั้งครรภอายุ 25 ป ไมมีโรคประจำตัว แตมีคาดัชนีมวลกาย 30 กิโลกรัมตอตารางเมตร ตั้งครรภแรก


อายุครรภ 8 สัปดาห หญิงตัง้ ครรภรายนีม้ คี วามเสีย่ งตอภาวะแทรกซอนใด
A. ทารกในครรภเจริญเติบโตชา
B. ตัง้ ครรภเกินกำหนด
C. ภาวะครรภเปนพิษ
D. ภาวะน้ำคร่ำนอย
E. รกเกาะต่ำ
2. ขอใดถูกตองเกี่ยวกับการใชยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวมที่ประกอบดวยฮอรโมน ethinyl estradiol (EE)
และ levonorgestrel (LNG) ในสตรีทมี่ ภี าวะอวน เมือ่ เปรียบเทียบกับสตรีทดี่ ชั นีมวลกายปกติ
A. กลไกหลักในการปองกันการตัง้ ครรภคอื ยับยัง้ การบีบตัวของทอนำไข
B. คา Cminของ EE และ LNG ต่ำกวาอยางมีนยั สำคัญ
C. คาครึง่ ชีวติ ของ LNG นอยกวาอยางมีนยั สำคัญ
D. ประสิทธิภาพในการคุมกำเนิดใกลเคียงกัน
E. มีการเจริญของฟองไขมากกวา
3. วิธกี ารคุมกำเนิดใดทีอ่ าจมีประสิทธิภาพลดลงในสตรีทมี่ ภี าวะอวน
A. ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม
B. แผนแปะคุมกำเนิด
C. ยาฉีดคุมกำเนิด
D. ยาฝงคุมกำเนิด
E. หวงคุมกำเนิด
4. สตรีอายุ 20 ป มีคา ดัชนีมวลกาย 35 กิโลกรัมตอตารางเมตร ระดูครัง้ สุดทายเมือ่ 1 สัปดาหกอ น มาปรึกษา
เรือ่ งการคุมกำเนิดฉุกเฉิน เนือ่ งจากมีเพศสัมพันธโดยไมไดคมุ กำเนิดเมือ่ คืนทีผ่ า นมา วิธกี ารคุมกำเนิดฉุกเฉินใด
ทีเ่ หมาะสมสำหรับสตรีรายนี้
A. ฉีดยาคุมกำเนิดทันที
B. ใสหว งคุมกำเนิดชนิดทองแดงทันที
C. รับประทาน levonorgestrel 1.5 มิลลิกรัมทันที
D. รับประทาน ulipristal acetate 30 มิลลิกรัมทันที
E. รับประทานยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม 4 เม็ดทันที
5. สตรีอายุ 32 ป ไมมีโรคประจำตัว มีคาดัชนีมวลกาย 32 กิโลกรัมตอตารางเมตร มีบุตร 3 คน ไมตองการ
มีบตุ รแลวแตไมอยากทำหมัน วิธกี ารคุมกำเนิดใดทีเ่ หมาะสมสำหรับสตรีรายนี้
A. ยาเม็ดคุมกำเนิดชนิดฮอรโมนรวม
B. แผนแปะคุมกำเนิด
C. วงแหวนคุมกำเนิด
D. ยาฝงคุมกำเนิด
E. ยาฉีดคุมกำเนิด

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017


การเปลี่ยนแปลงทางเภสัชจลนศาสตรและประสิทธิภาพของการคุมกำเนิดดวยฮอรโมนในผูหญิงอวน
420 Pharmacokinetic Alterations and Effectiveness of Hormonal Contraception in Obese Women
คำตอบ
1. C
2. D
3. B
4. B
5. D

ปที่ ๓๔ ฉบับที่ ๓ กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๐ Volume 34 No. 3 September-December 2017

Das könnte Ihnen auch gefallen