Sie sind auf Seite 1von 51

ผมสวยด้วยสมุนไพร

ดร.ณัฏฐินี อนันตโชค
ผศ.ดร.วีณา น ุก ูลการ
ภาควิชาเภสัชวินิจฉัย คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล
2

ผมสวยด้วยสมุนไพร
 สมุนไพรใช้สระผม
 สมุนไพรบำรุงผม และหนังศีรษะ
 สมุนไพรทำให้ผมนุ่ มสลวยมีน้ ำหนัก
 สมุนไพรทำให้ผมดกดำ
 สมุนไพรชะลอผมหงอกก่อนวัย
 สมุนไพรรักษำรังแค คัน ผมร่วงเป็ นหย่อมๆ จำกเชื้อรำ
 สมุนไพรใช้ยอ้ มผม
3

สมุนไพรใช้สระผม
มะคำดีควำย
ส้มป่ อย
หนำมแท่ง
มะตูม
4

มะคาดีควาย
(Soap berry, Sapindus rarak)
ชื่ออื่นๆ: ประคำดำควำย ส้มป่ อยเทศ (เชียงใหม่) ชะแซ
(กะเหรี่ยง- แม่ฮ่องสอน) คำดีควำย (ใต้) มะซัก (เหนื อ)
ผลมะคำดีควำย เต็มไปด้วยสำรซำโปนิน (saponins) ซึ่ง
ุ สมบัติชะล้ำง และทำให้เกิดฟอง คล้ำย
เป็ นสำรที่มีคณ
สบู่ จึงใช้ในกำรทำควำมสะอำด
5

มะคาดีควาย
(Soap berry, Sapindus rarak)
ั ษำ โรคชันนะตุซึ่งเกิดจำกเชื้อรำบนหนัง
สรรพคุณ ผลใช้รก
ศีรษะ
มีรำยงำนว่ำสำรสกัดจำกผลมะคำดีควำยมีฤทธ์ ิ ต้ำนเชื้อรำ
ที่ก่อโรคผิวหนังได้
วิธีทำ: นำลูกประคำดีควำย 1-2 ลูก ทุบให้แตก
แล้วนำไปต้มกับน้ำ นำน้ำไปใช้สระผม
6

ส้มป่อย (Acacia concinna)


ฝักส้มป่ อย จะมีสำรซำโปนิน และกรดอินทรีย์ จึง
นำมำใช้สระผมได้
สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังผืน่ คัน ป้ องกันและรักษำมือ
และเท้ำเปื่ อย บรรเทำกำรอักเสบจำกแมลงกัดต่อย
และพิษงูด้วย และป้ องกันผมหงอกก่อนวัย
7

ส้มป่อย (Acacia concinna)


สำรสกัดจำกฝักส้มป่ อยมีฤทธ์ ิ ต้ำนเชื้อแบคทีเรีย
และเชื้อรำหลำยชนิดรวมทัง้ เชื้อรำก่อโรคผิวหนัง
วิธีทำ: ฝักส้มป่ อยแห้ง 4-8 ฝัก นำมำหัก แช่หรือต้ม
กับน้ำ 1 ลิตร สำรในฝักส้มป่ อยจะค่อยๆ ละลำย
ออกมำในน้ำ กรองเอำเฉพำะน้ำมำสระผม
8

มะเค็ด หรือ หนามแท่ง


(Catunaregam tomentosa )
ชื่ออื่น เคล็ด, ตะเคล็ด, หนำมเคล็ด, หนำมแทง
(เหนื อ,อีสำน), เคล็ดทุ่ง (ใต้)
หนำมแท่ง พบได้ทำงภำคอีสำนโดยเฉพำะ
หนองคำย อุดรธำนี อุบลรำชธำนี
ผลมีสำรซำโปนิน ผลแก่นำมำทุบพอแหลก
ใช้ซกั ผ้ำ ทำควำมสะอำดร่ำงกำย
และสระผม
9

มะต ูม (Aegle marmelos)


ผลมะตูม มีน้ำมันหอมระเหย และสำรที่มีลกั ษณะ
เป็ นเมือกๆ คือ มิวซิเลจ (mucilage) เพคติน
(pectin)
ยำงจำกผลมะตูมสดๆ หรือทำเป็ นผงพร้อมใช้ ผสม
น้ำเป็ นเมือก มีฟองเล็กน้ อย
คนอินเดียใช้สระผม
10

สมุนไพรบาร ุงผม
 ว่ำนหำงจระเข้  สมอไทย
 หมี่หรือหมีเหม็น  ขิง
 อัญชัญ  กะเม็ง
 มะขำมป้ อม  ตะไคร้
 มะกรูด  บอระเพ็ด
 น้ำมันมะพร้ำว น้ำมันมะกอก น้ำมันงำ  บัวบก
11

ว่านหางจระเข้ (Aloe vera)


 ฤทธ์ ิ ทางเภสัชวิทยา : สมานแผล ลดการอักเสบ เพิ่ม
การเจริญทดแทนของเนื้ อเยื่อ
 บารุงเส้นผมให้เงางาม ช่วยบารุงหนังศีรษะ รักษาแผล
บนศีรษะ และขจัดรังแค
 สารที่ ออกฤทธ์ ิ คือ
 กลัยโคโปรตีน หรือ Lectins : aloctin A ซึ่งสลายตัวได้
ง่ายเมื่อถูกความร้อน
 Polysaccharides: mannans, polymannans
12

ว่านหางจระเข้ (Aloe Vera)


วิธีทำ: นำวุ้นว่ำนหำงจระเข้มำทำที่ผม
หรือนำไปปัน่ ให้ละเอียดแล้วนำมำ
หมักผมให้ทวั ่
ข้อควรระวัง : ควรล้ำงน้ำยำงสีเหลือง
ออกให้หมด เพรำะอำจระคำยเคือง
ผิวหนังและทำให้มีอำกำรแพ้ได้
13

ว่านหางจระเข้ (Aloe Vera)


 นำใบมำปอกเปลือก และล้ำงน้ำเพื่อล้ำงยำงที่ ติดมำออก
 นำส่วนที่เป็ นวุ้นมำใช้ นำเนื้ อวุ้นไปปัน

 คัน
้ เอำเฉพำะน้ำเมือกที่เป็ นเจล
 ทำให้ผมเปี ยก
 นำเจลว่ำนหำงจระเข้ที่คน
ั ้ ได้มำหมักที่โคนผม
 ทำให้หนังศีรษะอุ่น เพื่อให้เส้นเลือดฝอยและรูขม
ุ ขนขยำยตัว
สำรสำคัญสำมำรถแทรกซึมเข้ำไปง่ำยขึน้ โดยกำรโพกด้วย
ผ้ำขนหนูชบุ น้ำร้อนทำให้หมำดๆ ทิ้งไว้ประมำณ 10-30 นำที
 แล้วล้ำงออก
14

หมี่หรือหมีเหม็น (Litsea glutinosa)


ชื่ออื่นๆ : กำปรนบำย, ดอกจุม
๋ , ตังสีไพร, ทังบวน, มะเย้อ,
ยุบเหยำ, มือเบำะ, ม้น, หมูทะลวง, อีเหม็น
ใบมีสำรเมือก (mucilage) ในกลุ่ม polysaccharide
ุ สมบัติช่วยให้เส้นผมแข็งแรง ผมเรียบลื่น นุ่ม
ใบหมี่มีคณ
สลวยเป็ นเงำงำม
15

หมี่หรือหมีเหม็น (Litsea glutinosa)


สำรสกัดใบหมี่ มีฤทธ์ ิ ต้ำนอนุมล
ู อิสระ ต้ำนกำรอักเสบ และ
ช่วยสมำนแผล
ชำวบ้ำนนิยมนำมำใช้สระผม
 ใช้ใบขยำกับน้ำ หรือต้มกับน้ำ
ใช้น้ำเหนี ยวๆ ชโลมเส้นผม และหนังศีรษะ
หมักทิ้งไว้สก
ั ครู่ แล้วล้ำงออก
16

อัญชัญ (Clitoria ternatea)


ดอกอัญชัน มีสรรพคุณช่วยป้ องกันผมหงอก ทาให้
ผมที่ขึน้ มาใหม่ดกดาเงางาม
ดอกอัญชัน มีสารกลุ่มแอนโธไซยานิน เป็ นสารที่มีสี
น้าเงิน สีแดง หรือสีม่วง
สารสกัดดอกอัญชัญ มีฤทธ์ ิ ต้านอนุมล
ู อิสระ ต้าน
การอักเสบ และกระตุ้นการงอกของผม
17

อัญชัญ (Clitoria ternatea)


 นาดอกอัญชัน 10-15 ดอก ล้าง แล้วบดให้ละเอียด ผสมกับน้า
แล้วกรองเอาดอกอัญชันออก
 นาน้าที่ได้มาผสมกับน้ามันมะกอก 1 ช้อนชา
 นาส่วนผสมมาชโลมให้ทวเส้ ั ่ นผมและหนังศีรษะ
 ทิ้งไว้ประมาณ 20-30 นาที แล้วล้างออกด้วยน้าสะอาด
 ทาสัปดาห์ละ 2 ครัง้ หลังจากการสระผม
18

มะกรูด (Citrus hystrix)


ชื่ออื่น :
มะขุน มะขูด (ภาคเหนื อ) มะขู (กะเหรี่ยง-
แม่ฮ่องสอน) ส้มกรูด ส้มมัวผี่ (ภาคใต้)
ผลมะกรูด มีสรรพคุณให้ผมดก รากผมแข็งแรง เส้นผม
เงางาม ชุ่มชื้น และไม่เสีย ไม่เปราะขาดง่าย
และช่วยขจัดรังแค
19

มะกรูด (Citrus hystrix)


น้ามันจากผิวมะกรูด มีฤทธ์ ิ ต้านเชื้อ
แบคทีเรีย และเชื้อรา
น้ามะกรูด มีความเป็ นกรดช่วยทาความ
สะอาด ช่วยปิดเกล็ดผมให้ เรียงเป็ นชัน้ ปกติ
ทาให้เส้นผมเรียบ หวีง่าย
20

มะกรูด (Citrus hystrix)


วิธีที่ 1
ตาราโบราณจะใช้ผลมะกรูดหมกลงในขีเ้ ถ้า หรือลนไฟ
ให้จนนิ่ม ความร้อนจะทาให้น้ามันออกมาง่ายขึน้ ทิ้งไว้
ให้เย็น
ปอกเปลือก แล้วนาเปลือกไปขยาลงบนหนังศีรษะ
หมักผมไว้ โดยการโพกด้วยผ้าขนหนูชบ ุ น้าอุ่นทาให้
หมาดๆ ทิ้งไว้ประมาณ 10-30 นาที
21

มะกรูด (Citrus hystrix)


วิธีที่ 2
การตาผสมกับน้า โดยปอกเอาผิวผลมะกรูดมาตา
แล้วผสมกับน้าที่ได้จากการคัน้ เนื้ อ
แล้วผสมน้าธรรมดา กรองเอากากออก แล้วนาน้า
ไปสระผม
ถ้าใช้แล้วรู้สึกแสบอาจจะต้อง
เจือจางด้วยน้าเพิ่มเติม
22

มะกรูด (Citrus hystrix)


วิธีที่ 3
นามะกรูด 1-2 ลูก ต้มในน้าประมาณ 3-5 แก้วให้เดือด
ทิ้งให้อ่นุ
ขยาลูกมะกรูด ในน้า จากนัน้ กรองเอาเนื้ อและกากออก
นาน้ามะกรูดที่ได้มาสระผม ชโลมทิ้งไว้สก ั 10 นาที แล้ว
ล้างออก
23

มะพร้าว (Cocos nucifera)


 น้ามันมะพร้าว ประกอบด้วยกรดไขมันอิ่มตัวขนาดกลาง
(medium chain triglycerides ; MCT) เช่น กรดลอริกซึ่งมี
ฤทธ์ ิ ต้านจุลชีพ และมีวิตามินอี ที่มีฤทธ์ ิ ต้านอนุมลู อิสระ
 MCT สามารถผ่านเข้าออกอย่างอิสระที่ ผนังเซลล์ ทาให้
สามารถผ่านเข้าออกจากเส้นผมได้อย่างง่ายดาย จึงมี
ประสิทธิภาพในการบารุงเส้นผม
 น้ามันมะพร้าว มีคณ ุ สมบัติ เพิ่มความชุ่มชื้น ทาให้ผมนุ่ม
เงางาม และป้ องกันการเกิดรังแคจากหนังศีรษะแห้ง
24

มะพร้าว (Cocos nucifera)


ใช้กะทิประมาณ 1 – 2 แก้ว หรือน้ามันมะพร้าว
ชะโลมกะทิลงบนศีรษะและเส้นผม
ุ ๆ หมักทิ้งไว้ให้แห้ง
พอกด้วยผ้าขนหนูที่อ่น
ประมาณ 30 นาที หรือมากกว่า
ล้างออกด้วยน้า
สระผมด้วยยาสระผมอ่อนๆ
25

น้ามันมะกอก
(Olive oil; Olea europaea)
น้ามันมะกอก ประกอบด้วยกรดไขมันไม่อิมตัวเชิงเดี่ยว
เป็ นส่วนใหญ นอกจากนี้ ยงั มีสารต้านอนุมลู อิสระอื่นๆ
ได้แก่ วิตามินอี คาโรทีน และสารโพลีฟินอล
น้ามันมะกอก ช่วยบารุงเส้นผมและหนังศีรษะ ให้ผมนุ่มลื่น
เงางาม และมีสารที่จะช่วยป้ องกันการทาลาย
เส้นผมจากแสงแดดและอนุมลู อิสระ
26

น้ามันงา
(Sesame; Sesamum indicum )
น้ามันงา มีกรดไขมันไม่อิมตัวเชิงซ้อน และเชิงเดี่ยวเป็ น
ส่วนใหญ่ ยังมีวิตามินอี ซึ่งมีฤทธ์ ิ ต้านอนุมลู อิสระ
น้ามันงา ช่วยให้ผมเงางาม นุ่มสลวยมีน้าหนัก และยัง
กระตุ้นการงอกของเส้นผม ให้ผมดกดา โดยไปเพิ่มการ
ไหลเวียนของโลหิตรอบๆ รูขมุ ขนบนหนังศีรษะ
และบารุงรากผมให้แข็งแรงไม่หลุดร่วงง่าย
27

น้ามันมะกอก และน้ามันงา
การหมักผมด้วยน้ามันมะกอกหรือน้ามันงา
นาขวดน้ามันไปแช่ในน้าอุ่นก่อน
ทาผมให้เปี ยก
นาน้ามันที่อ่น
ุ ๆ มานวดหนังศีรษะ
พอกด้วยผ้าขนหนูที่อ่น
ุ ๆ หมักไว้ ประมาณ 30 นาที
ล้างออกด้วยน้า
สระผมด้วยยาสระผมอ่อนๆ
28

มะขามป้อม
(Phyllanthus emblica)
ชื่ออื่น :
กาทวด (ราชบุรี) กันโตด (เขมร-จันทบุรี) สัน
่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ยาส่า มังลู
ผลมะขามป้ อม มีสรรพคุณทาให้ผมดกดา หงอกช้าลง
สารสกัดมะขามป้ อมมีฤทธ์ ิ ต้านอนุมล
ู อิสระ ต้านการ
อักเสบ ต้านการทาลายคอลลาเจนที่เป็ นองค์ประกอบ
ของผิวหนัง และกระตุ้นการงอกของเส้นผม
29

มะขามป้อม (Phyllanthus emblica)


ผลมะขามป้ อม มีรสเปรีย้ วแกมฝาด
มีกรดอินทรียห ์ ลายชนิด เช่นกรดมาลิค กรดมูซิค
(malic และ mucic acid) และไวตามินซี จึงมีสรรพคุณ
ช่วยทาความสะอาดและกาจัดเชื้อโรค
มีเฟลวานอยด์ และแทนนินได้แก่ เอมบริคานิน เอ และ
บี (emblicanin A และ emblicanin B)
มีฤทธ์ ิ ต้านอนุมลู อิสระ
30

มะขามป้อม (Phyllanthus emblica)


น้ามันหมักผม
นามะขามป้ อมสดมาหันเป็ ่ นแว่นๆ ตากให้แห้งในที่ร่ม
นาไปทอดหรือเคี่ยวในน้ามันมะพร้าว น้ามันงา หรือ
น้ามันมะกอก ทอดจนกระทังมะขามป้ ่ อมเริ่มไหม้
(อาจนาสมอไทยมาทอดร่วมด้วย)
ตัง้ ทิ้งไว้ให้เย็น แล้วเก็บส่วนน้ามัน
ชโลมน้ามันลงบนผมที่เปี ยก
ทิ้งไว้ 10-30 นาที แล้วล้างด้วยน้าเปล่า
31

สมอไทย
(Terminalia chebula)
ชื่ออื่น : สมอ มาแน่ สมออัพยา หมากแน่ ะ
ตารายาไทย สมอไทยจัดอยู่ใน “ตารับยาตรีผลา”
ประกอบด้วยกรดต่างๆ มากมาย เช่น กรดแกลลิก
กรดชิบลู ิ ก ดังนัน้ จึงมีสรรพคุณช่วยทาความสะอาด
มีฤทธ์ ิ ต้านแบคทีเรียบางจาพวกด้วย
32

กะเม็ง
(Eclipta prostrata)
ชื่ออื่น :กะเม็งตัวเมีย คัดเม็ง บังกีเช้า หญ้าสับ ฮ่อมเกี่ยว
สรรพคุณ แก้ผมหงอกก่อนวัย ใช้น้าคัน
้ จากต้นเคี่ยวกับ
น้ามันงา หรือน้ามันมะพร้าวทาศีรษะจะทาให้ผมดกดา
และแก้ผมหงอกก่อนวัย
มีรายงานว่าช่วยกระตุ้นการงอกของผมได้

Arch Dermatol Res (2008) 300:357–364


33

บอระเพ็ด
(Tinospora crispa)

ชื่ออื่น :เครือเขาฮอ จุ่งจิง เจตมูลหนาม ตัวเจตมูลยาน


เถาหัวด้วน หางหนู
สรรพคุณตามตาราไทย แก้ไข้ แก้กระหายน้า เป็ นยาเจริญ
อาหาร ยาอายุวฒ ั นะ และลดความดันโลหิต
องค์ประกอบ เช่น บอระเพโตซาย (borapetoside) ซึ่งสารนี้
เป็ นสารองค์ประกอบหลักในลาต้นบอระเพ็ด ซึ่งเป็ นสารรส
ขม นอกจากนี้ ยงั มีแอลคาลอยด์อื่นๆอีกหลายตัว
34

บอระเพ็ด
(Tinospora crispa)
สรรพคุณ ป้ องกันผมหงอก ผมร่วง
วิธีทา: นาบอระเพ็ดสดมาตาให้ละเอียด ผสมน้าซาวข้าว
พอประมาณ หรืออาจเอาไปต้มกับน้า ตัง้ ทิ้งไว้สกั ครู่ จากนัน้
กรองคัน้ เอาแต่น้า นามาหมักผมทิ้งไว้ประมาณ 10 – 15 นาที
จึงล้างออกด้วยน้าสะอาด แล้วสระผมตามปกติ ทาสัปดาห์
ละ 1 ครัง้
35

บอระเพ็ด
(Tinospora crispa)

ชื่ออื่น :เครือเขาฮอ จุ่งจิง เจตมูลหนาม ตัวเจตมูลยาน


เถาหัวด้วน หางหนู
สรรพคุณตามตาราไทย แก้ไข้ แก้กระหายน้า เป็ นยาเจริญ
อาหาร ยาอายุวฒ ั นะ และลดความดันโลหิต
องค์ประกอบ เช่น บอระเพโตซาย (borapetoside) ซึ่งสารนี้
เป็ นสารองค์ประกอบหลักในลาต้นบอระเพ็ด ซึ่งเป็ นสารรส
ขม นอกจากนี้ ยงั มีแอลคาลอยด์อื่นๆอีกหลายตัว
36

บัวบก (Centella asiatica)


ชื่ออื่น : ผักแว่น ผักหนอก ปะหนะ เอขาเด๊าะ
มีฤทธ์ ิ ลดการอักเสบ ต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา สมานแผล
รักษาแผลในกระเพาะอาหาร
แก้ผมหงอก โดยใช้ใบบัวบก 1 กิโลกรัม เติมน้า 1 ลิตร ปัน ่
ให้ละเอียด เอาน้าคันมาเคี
่ ่ยวกับน้ามันมะพร้าว จนเหลือ
แต่น้ามัน นาน้ามันที่ได้ชโลมผม และนวดหนังศีรษะ
ประมาณ 15 นาที ล้างออก
37

สมุนไพรรักษารังแค คันศีรษะ ผมร่วงเป็นหย่อมๆ


จากเชื้อรา
ทองพันชัง่
กระเทียม
ตะไคร้
ขีเ้ หล็ก
ประคาดีควาย
ส้มป่ อย
38

ทองพันชัง่
(Rhinacanthus nasutus)

ชื่ออื่น :ทองคันชัง่ หญ้ามันไก่


ั ษาโรคผิวหนัง กลากเกลือ้ น ผืน่ คันเรือ้ รัง
สรรพคุณ: ใบใช้รก
สารสาคัญ ได้แก่ ไรนาแคนทิน ซี (rhinacanthin-C) ไรนาแคน
ทิน (rhinacanthin-D) และ ไรนาแคนทิน เอ็น (rhinacanthin-N)
มีทธ์ ิ ต้านเชื้อรา ต้านไวรัส
The 3rd International Symposium on Natural Drugs. Naples, Italy, October
2–4 2003, pp. 56.
39

ทองพันชัง่
(Rhinacanthus nasutus)

ช่วยลดผมร่วง แก้โรคผิวหนัง ขจัดเชื้อราและแบคทีเรียที่ราก


ผม กระตุ้นการงอกของเส้นผมทาให้ผมดาเป็ นเงางาม
วิธีใช้ นาใบสดทองพันชังที
่ ่ไม่อ่อนหรือแก่เกินไป มาตาจน
ละเอียดแล้วผสมกับน้าสะอาดหมักไว้บริเวณศีรษะ แล้วล้าง
ออก ทาติดต่อกันอย่างน้ อย 15–30 วัน จึงจะเห็นผล
40

กระเทียม
(Allium sativum)

ชื่ออื่น :กระเทียมขาว กระเทียมจีน เทียม ปะเซ้ วา หอมขาว


หอมเทียม หัวเทียม
มีฤทธ์ ิ ต่างๆ มากมาย เช่น ต้านอนุมลู อิสระ ลดความดันโลหิต
ต้านเซลล์มะเร็ง
มีฤทธ์ ิ ต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา
41

กระเทียม
(Allium sativum)

องค์ประกอบสาคัญ:
 น้ามันระเหยง่าย โปรตีน แป้ ง สารอื่นๆ
ในน้ามันกระเทียมจะมีสารที่มีกามะถันเป็ นองค์ประกอบ ที่
สาคัญ ได้แก่ อัลลิซิน ไดอัลลิลไดซัลไฟต์ เป็ นต้น
42

กระเทียม
(Allium sativum)

นาไปใช้ต้านเชื้อราบนหนังศีรษะ
นากระเทียมมาบดหรือหัน่
นาไปเคี่ยว ในน้ามันร้อนๆ (ใช้น้ามันละหุ่ง น้ามันมะพร้าว
หรือน้ามันมะกอก)
43

ตะไคร้
(Cymbopogon citratus)

ชื่ออื่น : จะไคร (ภาคเหนื อ) ไคร (ภาคใต้) คาหอม


(แม่ฮ่องสอน) เชิดเกรย เหลอะเกรย (เขมร-สุรินทร์)
ห่อวอตะโป่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ขีไ้ คร้ (อินดี้-สกา)
สรรพคุณ: แก้ปวด ขับลม ลดการบีบตัวของลาไส้ บารุงธาตุ
เจริญอาหาร
44

ตะไคร้
(Cymbopogon citratus)

ฤทธ์ ิ ต้านเชื้อรา ยีสต์


มีสารสาคัญคือ ซิทรอล (citral) และ เมอร์ซีน (myrcene) เป็ น
ตัวออกฤทธ์ ิ
มีงานวิจยั ใช้น้ามันตะไคร้ปริมาณ 2% ผสมในแชมพู พบว่า
ต้านเชื้อยีสต์ Malassezia furfur ที่เกี่ยวข้องกับการเกิดรังแค
ได้ดี
Southeast Asian J Trop Med Public Health. 2011 Mar;42(2):363-9.
45

ตะไคร้
(Cymbopogon citratus)
ใช้ตะไคร้ 2-3 ต้น นามาตาให้ละเอียด
กรองเอาแต่น้า
หลังจากสระผมสะอาดดีแล้วนาน้าตะไคร้มาชโลม
ั ่ รษะทิ้งไว้สกั 10 นาที
นวดให้ทวศี
ล้างออก
ทาเป็ นประจาสัก 2 เดือน
46

ขี้เหล็ก
(Senna siamea)
ชื่ออื่น : ขีเ้ หล็กแก่น ขีเ้ หล็กบ้าน ขีเ้ หล็กหลวง ขีเ้ หล็กใหญ่
ผักจีล้ ี้ แมะขีเ้ หละพะโดะ ยะหา
มีฤทธ์ ิ ต้านแบคทีเรีย และต้านเชื้อรา
47

ขี้เหล็ก
(Senna siamea)
ส่วนดอก มีสรรพคุณรักษารังแค
ดอกขีเ้ หล็ก 2 ช้อนโต๊ะ พิมเสน 1 ช้อนชาปัน
่ ผสมกับลูกมะกรูด
ย่างไฟ 2 ลูก
เติมน้าปูนใส 100 ซีซี ปัน
่ ผสมให้เข้ากัน
กรองคัน ้ เอาแต่น้า
จากนัน้ นาน้ามันมะกอกเติมผสม 60 – 100 ซีซี ผสมให้เข้ากัน
หมักผมไว้ 20 นาที ก่อนสระผมทุกครัง้ บรรเทาอาการรังแคได้ดี
48

สมุนไพรใช้ยอ้ มผม
เทียนกิ่ง (Lawsonia alba)
ชื่ออื่น :เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนแดง เทียนไม้
เทียนย้อม เฮนน่ า
องค์ประกอบทางเคมีที่สาคัญ คือ ลอร์โซน (lawsone) ซึ่งเป็ น
สารสีแดงอมส้ม
49

เทียนกิ่ง (Lawsonia alba)


ส่วนที่นามาใช้ย้อมผม คือ ใบ กิ่ง ก้าน
ย้อมสีแบบกึ่งถาวร ติดเส้นผมนาน 3-4 สัปดาห์
วิธีการย้อม ผสมผงเฮนน่ าปริมาณ 100 กรัม มะนาวครึ่งผล น้า
ชาที่ผา่ นการต้มจนเดือนแล้ว 1 แก้ว ในชามแก้ว คนให้เข้ากัน
ทิ้งไว้นาน 8 ชัวโมง

สระด้วยน้าสะอาด
50

เทียนกิ่ง (Lawsonia alba)


หากต้องการเติมสีสน
ั ให้กบั เฮนน่ า เพื่อให้ได้สีที่แตกต่าง
ออกไป
 เติมผงกาแฟ 1-2 ช้อนโต๊ะ จะให้สีโทนแดง
 เติมน้าดอกอัญชัน (30-50 ดอก) ที่ ผา่ นการต้มรวมกับน้าชา
แล้วคัน้ เอากากออก ช่วยให้สีย้อมออกมาเป็ นสีน้าเงินเข้ม
 ผสมน้าส้มไซเดอร์หรือน้าส้มจากแอปเปิ้ล 3 ช้อนโต๊ะ จะช่วย
เพิ่มประกายสีทอง
 เติมผงกานพลู 3 กรัม จะมีสีที่ใกล้เคียงกับสีดา
ขอบค ุณค่ะ

Das könnte Ihnen auch gefallen