Sie sind auf Seite 1von 37

1

TKS-202
2

หน้ าจอแสดงผล

หน้ าจอแสดงผลการรังวัดมุม หน้ าจอแสดงผลการรังวัดระยะ


V (มุมดิ่ง) : 90°10’20” HR(มุมราบ) : 120°30’40”
HR (มุมราบ) : 120°30’40” HD (ระยะราบ) : 65.432m
VD (ระยะดิ่ง) : 12.345m
ตัวย่ อ คําอธิบาย ตัวย่ อ คําอธิบาย
V มุมดิ่ง N ค่ าพิกดั N
HR มุมราบหมุนทางขวา E ค่ าพิกดั E
HL มุมราบหมุนทางซ้ าย Z ค่ าพิกดั Z
HD ระยะราบ * เครื่องวัดระยะ (EDM) ทํางานอยู่
VD ระยะดิ่ง m หน่ วยเมตร
SD ระยะลาด f หน่ วยฟุต
3

ปุ่ มควบคุมการทํางาน

ปุ่ ม ชื่อปุ่ ม การใช้ งาน


ปุ่ มดาว ปุ่ มทางลัดในการตั้งค่ า 1.ความเข้ มหน้ าจอ 2.ความ
สว่ างของสายใย 3.เปิ ด-ปิ ดไฟส่ องสว่ างหน้ าจอและ
สายใย 4.ระบบชดเชยการเอียงแกนกล้ อง 5.เช็ค
คุณภาพสั ญญาณทีส่ ะท้ อนจากเป้าสํ าหรับEDM ตั้ง
ค่ าปรับแก้ช้ันบรรยากาศและค่ าแก้ ปริซึม
ปุ่ มรังวัดค่ าพิกดั การรังวัดค่าพิกดั
ปุ่ มรังวัดระยะ การรังวัดระยะ
ปุ่ มรังวัดมุม การรังวัดมุม
ปุ่ มเปิ ด - ปิ ด เครื่อง เปิ ดหรือปิ ดเครื่อง
ปุ่ มเมนู เข้ าสู่ คาํ สั่ งเมนูภายในตัวกล้อง
ปุ่ มออก ออกจากหน้ างานปัจจุบันไปหน้ าก่อนหน้ านี้
ปุ่ มตกลง เพือ่ ยอมรับค่ าต่ างๆทีป่ ้ อนใส่ ในเครื่อง
ปุ่ มสั่ งงาน เลือกชุ ดคําสั่ ง
4

การตั้งค่ าเครื่องมือในโหมดปุ่ มดาว (STAR KEY)


โหมดปุ่ มดาวประกอบด้วยการตั้งค่าเครื่ องมือเบื้องต้นดังนี้
1. ปรับความเข้มหน้าจอ (0 ถึง 9 ระดับ)
2. ปรับระดับความสว่างสายใย (0 ถึง 9 ระดับ)
3. เปิ ด – ปิ ดไฟหน้าจอและไฟส่ องสว่างสายใย
4. เปิ ด – ปิ ด ระบบชดเชยแกนกล้อง (TILT CORRECTION)
5. เช็คสัญญาณที่สะท้อนจากเป้ าปริ ซึม ตั้งค่าปรับแก้ช้ นั บรรยากาศและค่าแก้ปริ ซึม

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


F1 เปิ ด – ปิ ด ไฟส่ องสว่ างหน้ าจอและสายใย
หรือ ปรับความเข้ มหน้ าจอ (0 ถึง 9 ระดับ)
หรือ ปรับระดับความสว่ างสายใย (0 ถึง 9 ระดับ)
เปิ ด – ปิ ด ระบบชดเชยแกนกล้อง (TILT CORRECTION)
F4 เช็คสั ญญาณทีส่ ะท้ อนจากเป้าปริซึม , ตั้งค่ าปรับแก้ช้ันบรรยากาศ
(PPM) และ ค่ าแก้ปริซึม (Prism Constant)
5

โหมดการรังวัดพืน้ ฐานและคําสั่ ง
ที่หน้าจอแสดงผลจะแสดงคําสัง่ ต่างๆให้เลือกใช้งาน โดยในแต่ละโหมดการรังวัด จะมี
หน้าโปรแกรม 2 - 3 หน้า คือ P1,P2, และ P3 สามารถเปลี่ยนหน้าโปรแกรมโดยการกดปุ่ ม F4 เมื่อ
กดปุ่ มแต่ละครั้งหน้าโปรแกรมจะเปลี่ยนไปเรื่ อยๆ หมุนเวียนไปตามลําดับตามจํานวนครั้งที่กดปุ่ ม

1.6.1 โหมดการรังวัดมุม

หน้ าโปรแกรม ปุ่ มสั่ งงาน คําสั่ ง การใช้ งาน


F1 0SET ตั้งค่ามุมราบให้ เป็ น 0°0’0”
1 F2 HOLD ล็อกค่ ามุมราบ
F3 HSET ตั้งค่ ามุมราบทีต่ ้ องการ
F4 เลือ่ นไปยังหน้ าถัดไป (P2)
F1 TILT เปิ ด-ปิ ดระบบชดเชยแกนกล้อง
2 F2 REP การรังวัดมุมซํ้า
F3 V% เปลีย่ นค่ ามุมดิง่ เป็ นเปอร์ เซ็นต์ (%)
F4 เลือ่ นไปยังหน้ าถัดไป (P3)
F1 H-BZ เปิ ด-ปิ ด เสี ยงเตือนเมื่อค่ ามุมราบเป็ น 0°,90°,180°และ
3 270°
F2 R/L ตั้งค่ารังวัดมุมราบหมุนไปทางขวาหรือทางซ้ าย
F3 CMPS ตั้งค่ามุมดิง่ ในแนวราบให้ เป็ น 0°
F4 เลือ่ นไปยังหน้ าถัดไป (P1)
6

โหมดการรังวัดระยะ

หน้ าโปรแกรม ปุ่ มสั่ งงาน คําสั่ ง การใช้ งาน


F1 MEAS ปุ่ มวัดระยะ
1 F2 MODE ตั้งค่ารู ปแบบการรังวัดระยะมี 3แบบ 1.Fine (วัดละเอียด)
2.Coarse (วัดหยาบ) 3.Tracking(วัดต่ อเนื่อง)
F3 S/A เปิ ด-ปิ ด ระบบเช็คคุณภาพสั ญญาณจากเป้าสํ าหรับ EDM
F4 เลือ่ นไปยังโปรแกรมหน้ า 2
F1 OFSET การรังวัดระยะฉาก (Offset)
2 F2 S-O การรังวัดกําหนดตําแหน่ ง (Setting out)
F3 m/f/i เปลีย่ นหน่ วยแสดงผลเป็ น เมตร / ฟุต / นิว้
F4 เลือ่ นไปยังโปรแกรมหน้ า 1

โหมดการรังวัดค่ าพิกดั

หน้ าโปรแกรม ปุ่ มสั่ งงาน คําสั่ ง การใช้ งาน


F1 MEAS สั่ งวัดระยะ
1 F2 MODE ตั้งค่ารูปแบบการรังวัดระยะ Fine (วัดละเอียด)/Coarse
(วัดหยาบ)/Tracking(วัดต่ อเนื่อง)
F3 S/A วัดคุณภาพสั ญญาณสะท้ อนกลับจากปริซึม
F4 เลือ่ นไปยังโปรแกรมหน้ า 2
2 F1 R.HT ใส่ ค่าความสู งเป้าหริซึม
F2 INSHT ใส่ ค่าความสู งกล้อง
7

หน้ าโปรแกรม ปุ่ มสั่ งงาน คําสั่ ง การใช้ งาน


2 F3 OCC ใส่ ค่าพิกดั จุดตั้งกล้อง
F4 เลือ่ นไปยังโปรแกรมหน้ า 3
F1 OFSET เข้ าสู่ การรังวัดพิกดั ฉาก (Offset)
2 F3 m/f/i เปลีย่ นหน่ วยแสดงการรังวัดระยะ เมตร/ฟุต/นิว้
F4 เลือ่ นไปยังโปรแกรมหน้ า 1
8

1. การติดตั้งกล้ องให้ พร้ อมทํางาน


1.1 การตั้งกล้ อง
เพื่อติดตั้งกล้องบนขาตั้ง แล้วตั้งให้ตรงตําแหน่งหัวหมุด แล้วปรับตัวกล้องให้ได้ระดับโดยมี
วิธีการดังนี้
1. ตั้งขาตั้ง 3ขา
1.1 ปลดล็อกที่ขาทั้ง 3ขาแล้วยืดขาให้มีความสูงที่เหมาะสมของผูใ้ ช้งาน แล้วหมุนสกรู
ล็อกขาให้แน่น
1.2 นําขาตั้งมาวางตรงตําแหน่งหมุด ให้ใกล้เคียงที่สุดแล้วกางขาออกให้พอดี เพื่อความ
แข็งแรง
2. ติดตั้งกล้ องบนขาตั้ง
2.1 นํากล้องสํารวจมาติดตั้งที่ขาตั้ง โดยวางตําแหน่งของกล้องให้อยูต่ รงกลาง แล้วหมุน
สกรู ลอ็ กกล้องให้พอแน่น
2.2 มองที่ช่องมองดิ่งแล้วขยับขากล้อง ปรับตําแหน่งของกล้องให้ตรงกับหัวหมุด
3. ตั้งระดับฟองกลม

3.1 ปรับระดับฟองกลมให้อยูใ่ นตําแหน่งวงกลมด้านใน โดยการปรับขาตั้งให้ตาํ แหน่งฟอง


กลมไปตรงยังขาใดขาหนึ่งแล้วแล้วคลายล็อก ปรับขาขึ้นหรื อลงเพื่อให้ฟองกลมอยูใ่ น
ตําแหน่งวงกลมด้านใน
3.2 หมุนควงสามเส้า A และ B ให้พร้อมและเท่ากัน เมื่อหมุนเข้าฟองกลมจะเลื่อนไป
ทางขวา หมุนออกฟองกลมจะเลื่อนไปทางซ้าย ทําการปรับให้ฟองกลมอยูต่ าํ แหน่งกึ่งกลาง
3.3 หมุนควงสามเส้า C หมุนตามเข็มเพื่อให้ฟองกลมขึ้นบน หมุนทวนเข็มฟองกลมจะลง
ล่าง ทําการปรับให้ฟองกลมอยูต่ าํ แหน่งกึ่งกลาง
9

4. ตั้งระดับฟองยาว
4.1 หมุนกล้องให้แนวฟองยาวขนานกับควงสามเส้า A และ B แล้วหมุนควง A และ B
พร้อมๆกัน หมุนเข้าฟองยาวขยับไปทางขวา หมุนออกฟองกลมขยับไปทางซ้าย ปรับจน
ฟองยาวอยูต่ าํ แหน่งกึ่งกลาง

4.2 หมุนกล้องตามเข็ม 90 องศา แล้วหมุนควง C หมุนตามเข็มเพื่อให้ฟองยาวขึ้นบน


หมุนทวนเข็มฟองยาวจะลงล่าง ปรับจนฟองยาวอยูต่ าํ แหน่งกึ่งกลาง

4.3 หมุนกล้องตามเข็มทุกๆ 90องศา แล้วทําตามขั้นตอนที่ 4.1 หรื อ 4.2 จนครบทั้ง 4


ด้าน
5. ขยับกล้ องให้ ตรงหัวหมุดและปรับระดับกล้อง
5.1 ดูที่ช่องมองดิ่ง ตรวจสอบเครื่ องหมายตรงกับตําแหน่งหัวหมุดหรื อไม่ ถ้าไม่ตรงให้
คลายสรู ลอ็ กล้องออกแล้วขยับกล้องให้ตรงตําแหน่งหัวหมุด แล้วหมุนสกรู ลอ็ กกล้อง
ให้แน่น

5.2 ตรวจสอบระดับฟองยาวอีกครั้งตามข้อที่ 4 แล้วปรับให้ได้ระดับ


10

การตั้งระบบชดเชยการเอียงแกนกล้ อง (TILT CORRECTION)


กล้องมีระบบชดเชยการเอียงแกนกล้องในแนวแกน X ± 3' เพื่อชดเชยในกรณี ที่แกน
กล้องเอียงจากมุมดิ่ง ดังนั้นจึงควรเปิ ดระบบชดเชยการเอียงแกนกล้อง ตลอดเวลาเพื่อให้
การรังวัดมุมมีความถูกต้องมากยิง่ ขึ้น

เมื่อแกนกล้องเอียงกินระยะชดเชย ที่หน้าจอแสดงผลจะขึ้นคําว่า TILT OVER โดย


อัตโนมัติเมื่อเปิ ดระบบไว้ ให้ทาํ การตั้งค่าระดับจนมีค่าเท่ากับ 0° 00' 00".

การเปิ ดระบบชดเชยการเอียงแกนกล้อง (TILT CORRECTION)


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. ทีโ่ หมดการรังวัดมุม กดปุ่ ม F4 F4
2. เลือก TILT F1
3. เลือก X – ON F1
4. หมุนควงสามเส้ าปรับระดับให้ X มีค่า
เท่ ากับ 0° 00' 00"
5. กดปุ่ ม ESC ออกจากการตั้งค่ า
11

การรังวัดมุม (ANGLE MEASUREMENT)


การรังวัดมุมราบและมุมดิง่ (HORIZONTAL ANGLE RIGHT AND
VERTICAL ANGLE)
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม เข้ าสู โหมดการรังวัดมุม ANG
2. เล็งเป้าที่ 1 เล็งเป้าที่ 1
3. ตั้งค่ ามุมราบของเป้าที่ 1 ให้ มีค่าเท่ ากับ 0 F1
โดยกดปุ่ ม 0SET F3
4. เลือก Yes

5. เล็งเป้าที่ 2 จะได้ ค่ามุมราบและมุมดิ่ง เล็งเป้าที่ 2


แสดงผลทีห่ น้ าจอ

การล็อกค่ ามุมราบ
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม เข้ าสู โหมดการรังวัดมุม ANG
2. หมุนกล้ องจนได้ ค่ามุมราบทีต่ ้ องการ หมุนกล้อง

3. เลือก HOLD F2
12

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


4. เล็งไปยังเป้าหมายทีต่ ้ องการรังวัดมุม เล็งเป้า
5. เลือก Yes (สิ้นสุ ดการล็อกค่ ามุมราบ) F3
กล้ องจะกลับเข้ าสู่ การรังวัดมุมปกติ

การกรอกค่ ามุมราบ
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม เข้ าสู โหมดการรังวัดมุม ANG
2. เล็งไปยังเป้าหมาย เล็งเป้า
3. เลือก HSET F3
4. ป้อนค่ ามุมราบที่ HR ป้อนค่ ามุม

การรังวัดมุมซํ้า
การรังวัดมุมซํ้าใช้ ได้ เฉพาะการรังวัดมุมหมุนไปทางขวาเท่ านั้น
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม เข้ าสู โหมดการรังวัดมุม ANG
2. กดปุ่ ม F4 เพือ่ เข้ าสู่ โปรแกรมหน้ าที่ 2 F4

3. เลือก REP F2

4. เลือก YES F3

5. เล็งไปยังเป้าหมายที่ 1 แล้วกดปุ่ ม0SET เล็งเป้า 1


F1
13

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


6. เลือก YES F3

7. เล็งไปยังเป้าหมายที่ 2 แล้ วเลือก HOLD เล็งเป้า 2


F4

8. เล็งไปยังเป้าหมายที่ 1 แล้ วเลือก REL เล็งเป้า 1


F3
9. เล็งไปยังเป้าหมายที่ 2 แล้ วเลือก HOLD เล็งเป้า 2
F4
10. ทําซํ้าขั้นตอนที่ 8และ9 จนครบจํานวนที่
ต้ องการรังวัดมุมซํ้า

11. กดปุ่ ม ESC เพือ่ กลับเข้ าสู้ หน้ าโปรแกรม ESC


วัดมุมปกติ
12. เลือก YES F3

หมายเหตุ
REP-ANGLE COUNT คือ จํานวนครั้งที่วดั
มุมซํ้า
Ht คือ ผลรวมค่ามุมทั้งหมดที่วดั ได้
Hm คือ ค่ามุมเฉลี่ย
14

การรังวัดระยะ (DISTANCE MEASUREMENT)


ก่อนเริ่ มงานควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าค่าคงที่เป้ าปริ ซึมถูกต้องหรื อไม่ และเลือกรู ปแบบการ
รังวัดระยะที่เหมาะสมกับงาน
การเลือกรู ปแบบการรังวัดระยะ
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม เข้ าสู่ โหมดการรังวัดระยะ

2. เลือก MODE F2
3. กดปุ่ มเลือกรู ปแบบการรังวัดระยะ Fine F1 หรือ F2
(วัดละเอียด) / Coarse (วัดหยาบ)/ หรือ F3
Tracking (วัดต่ อเนื่อง)

การรังวัดระยะครั้งเดียวหรือตามจํานวนครั้งทีก่ าํ หนด
ถ้าตั้งค่าการรังวัดระยะไว้ 1ครั้ง เครื่ องจะทําการรังวัดแค่ครั้งเดียว แต่ในกรณี ที่มีการตั้งค่าให้วดั
ระยะหลายครั้ง เครื่ องจะทําการรังวัดระยะตามจํานวนครั้งที่กาํ หนด แล้วจะแสดงค่าระยะทางเฉลี่ย
ที่วดั ได้

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. เล็งไปยังเป้าหมาย เล็งเป้า
2. กดปุ่ ม การรังวัดระยะแบบต่ อเนื่อง
ทํางาน
3. เลือก MEAS F1
หมายเหตุ
เมื่อกดปุ่ ม MEAS จะเป็ นการสลับรู ปแบบการ
รังวัดระยะแบบต่อเนื่องเป็ นการรังวัดแบบ
จํานวนครั้ง
HD* [r] คือ การรังวัดแบบต่อเนื่อง
HD* [n] คือการรังวัดแบบครั้งเดียวหรื อตาม
จํานวนครั้งที่กาํ หนด
15

การรังวัดระยะแบบต่ อเนื่อง
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. เล็งไปยังเป้าหมาย เล็งเป้า
2. กดปุ่ ม เพือ่ วัดระยะแบบต่ อเนื่อง ผล
การรังวัดจะแสดงผลทีห่ น้ าจอ
ประกอบด้ วย ค่ ามุมราบ(HR) ระยะราบ
(HD) และ ระยะดิ่ง(VD)

3. ถ้ าต้ องการให้ แสดงผล มุมราบ(HR) มุม


ดิ่ง(V) และ ระยะลาด(SD) ให้ กดปุ่ ม
อีกครั้ง

การเปลีย่ นหน่ วยแสดงผลการรังวัดระยะ


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม เข้ าสู่ โหมดการรังวัดระยะ
2. กดปุ่ ม F4 เพือ่ ไปยังโปรแกรมหน้ าที่ 2 F4
3. กดปุ่ ม F3 เพือ่ เปลีย่ นหน่ วยแสดงผล โดย F3
การกดแต่ ล่ะครั้งหน่ วย m/f/i จะเปลีย่ น
วนไปเรื่อยๆ
16

การรังวัดค่ าพิกดั (COORDINATE MEASUREMENT)

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. กดปุ่ ม เข้ าสู่ โหมดการรังวัดค่ าพิกดั
2. กดปุ่ ม F4 เพือ่ ไปยังโปรแกรมหน้ าที่ 2 F4
3. เลือก OCC แล้ วกรอกค่ าพิกดั จุดตั้งกล้อง F3
ใส่ ค่าพิกดั
จุดตั้งกล้อง
4. กดปุ่ ม ENT F4
5. เลือก INSHT แล้ วกรอกค่ าความสู งกล้อง F2
ใส่ ค่าความ
สู งกล้อง
6. กดปุ่ ม ENT F4
7. เลือก R.HT แล้ วกรอกค่ าความสู งเป้า F1
ปริซึม ใส่ ค่าความ
สู งเป้า
8. กดปุ่ ม ENT F4
9. เล็งเป้าจุดอ้ างอิงแล้ วเลือก 0SETหรือ F1 หรือ F3
HSET เพือ่ กําหนดมุมทิศทาง
10. เล็งเป้าหมายทีต่ ้ องการรังวัดค่ าพิกดั เล็งเป้า
11. กดปุ่ ม เริ่มการรังวัดค่ าพิกดั
12. ค่ าพิกดั ของจุดเป้าหมายแสดงผลที่
หน้ าจอ
13. รังวัดจุดอืน่ ๆ ทําซํ้าข้ อ 10 - 12
17

การวัดความสู งจากระยะไกล [Remote Elevation measurement (REM)]

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. กดปุ่ ม F4 เพือ่ ไปยังโปรแกรมหน้ า 2 F4

3. เลือก PROGRAM F1
4. เลือก REM F1

5. เลือก F1 : INPUT R.HT F1

6. ใส่ ค่าความสู งเป้าปริซึม ใส่ ค่า R.HT

7. เล็งเป้าปริซึม เล็งเป้า
8. เลือก MEAS เริ่มการรังวัดระยะ F1

9. เล็งไปยังจุดทีต่ ้ องการวัดความสู ง เล็งไปทีเ่ ป้า


บน

10. ทีห่ น้ าจอจะแสดงผลความสู งทีว่ ดั ได้


18

การวัดระยะแบบ MLM (Missing Line Measurement)

การวัดระยะ MLM แบบ A-B, A-C, A-D,…


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. กดปุ่ ม F4 เพือ่ ไปยังโปรแกรมหน้ า 2 F4
3. เลือก PROGRAM F1
4. เลือก MLM F2

5. เลือก F2 : DON’T USE F2

6. เลือก F2 : DON’T USE F2

7. เลือก F1 : MLM-1 (A-B , B-C) F1

8. เล็งเป้าปริซึม A เล็งเป้า A
9. เลือก MEAS F1
10. เล็งเป้าปริซึม B เล็งเป้า B
11. เลือก MEAS F1
12. หน้ าจอจะแสดงระยะทางระหว่ างจุด A
ไปยัง จุด B
13. ถ้ าต้ องการดูระยะลาด (SD) กดปุ่ ม
14. ต้ องการวัดจุดต่ อไป เล็งเป้าแล้วเลือก
MEAS จนครบทุกจุด
19

การรังวัดพืน้ ที่ (Area Calculation)


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. กดปุ่ ม F4 เพือ่ ไปยังโปรแกรมหน้ า 2 F4

3. เลือก PROGRAM F1

4. กดปุ่ ม F4 เพือ่ ไปยังโปรแกรมหน้ า 2 F4


5. เลือก F1:AREA F1

6. เลือก F2:MEASUREMENT F2

7. เลือก F2:DON’T USE F2

8. เล็งเป้าจุดที่ 1 เล็งเป้า
9. เลือก MEAS F1
10. เล็งเป้าจุดถัดไป เล็งเป้า
11. เลือก MEAS F1

12. เมื่อรังวัดครบ 3จุด จะปรากฏเนือ้ ทีท่ ี่


คํานวณได้ บนหน้ าจอแสดงผล
13. เปลีย่ นหน่ วยระยะทางเลือก UNIT
14. เลือกหน่ วยระยะทางทีต่ ้ องการ F3
m.sq(F1) / ha(F2) / ft(F3) / F1/F2/F3/F4
sq.acre(F4)
หมายเหตุ
ต้องรังวัดอย่างน้อย 3จุด เวียนไปในทิศทาง
เดียวกัน จึงจะสามารถคํานวณพื้นที่ได้
20

การรังวัดแล้ วบันทึกข้ อมูลเก็บไว้ ในเครื่อง (DATA COLLECTION)


เลือกแฟ้มงานทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูล

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F1:DATA COLLECT F1
3. เลือก LIST เพือ่ เลือกแฟ้มงานทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูล F2
จากรายการทีท่ มี่ ีอยู่ในเครื่อง

4. เลือกแฟ้มงานทีต่ ้ องการโดยใช้ ปุ่ม


5. เลือก ENT แฟ้มงานทีเ่ ลือกจะมีเครื่องหมาย * F4
ปรากฏอยู่ด้านหน้ าชื่อ

เลือกแฟ้มงานทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูลค่ าพิกดั


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F1:DATA COLLECT F1
3. กดปุ่ ม F4 เพือ่ เลือ่ นไปโปรแกรมหน้ า 2 F4

4. เลือก F1:SELECT A FILE F1


5. เลือก F2:COORD. DATA เพือ่ เลือกแฟ้มงาน F2
ทีใ่ ช้ เก็บข้ อมูลค่ าพิกดั
6. เลือก LIST F2
7. เลือกแฟ้มงานทีต่ ้ องการโดยใช้ ปุ่ม
8. เลือก ENT F4
21

การรังวัดเก็บข้ อมูลลงหน่ วยความจําของกล้ อง (DATA COLLECT)

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F1: DATA COLLECT F1

3. เลือก INPUT F1
4. ที่ FN ตั้งชื่อชื่อแฟ้มงานใหม่ ตั้งชื่อแฟ้ม
5. เลือก ENT ENT
6. เลือก F1:OCC.PT # INPUT เพือ่ ใส่ F1
ค่ าพิกดั จุดตั้งกล้อง ความสู งกล้ อง
7. ที่ PT# กดปุ่ มINPUT แล้ วตั้งชื่อจุดตั้ง ใส่ PT
กล้ องแล้ วกดปุ่ ม ENT F4
8. ที่ ID ใส่ รหัส, INS.HT ใส่ ความสู งของ ใส่ ID, F4
กล้ อง วิธีการเดียวกับข้ อ 7 INS.HT,F4
9. เลือก OCNEZ F4
10. เลือก NEZ F3
11. กดปุ่ ม INPUT แล้วใส่ ค่า N แล้ วกดปุ่ ม ใส่ ค่า N
ENT F4

12. ใส่ ค่าพิกดั EและZ วิธีการเดียวกับข้ อ ใส่ ค่า E , F4


11 ใส่ ค่า Z , F4
13. บันทึกข้ อมูลค่ าพิกดั จุดตั้งกล้องทีใ่ ส่ F3
เข้ าไปในกล้ องโดยเลือก REC แล้ว F3
เลือก YES
14. เลือก F2:BACKSIGHT F2
15. ที่ BS# กดปุ่ ม INPUT แล้วใส่ ชื่อจุด ใส่ BS
BACKSIGHT แล้วกดปุ่ ม ENT F4
16. ที่ PCODE ใส่ รหัส, R.HT ใส่ ความสู ง ใส่ ค่า
ของเป้าปริซึม โดยกดปุ่ มINPUT แล้ว PCODE,F4
กรอกค่ าแล้ วกดปุ่ ม ENT ใส่ ค่า
R.HT, F4
22

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


17. เลือก BS แล้วเลือก NE/AZ เพือ่ ใส่ ค่า F4
พิกดั ในกรณีทที่ ราบค่ าพิกดั หรือเลือก ใส่ ค่า
AZกรณีทที่ ราบมุมอะซิมุทของจุด NEหรือAZ
BACKSIGHT แล้วกดปุ่ ม ENT F4

18. เริ่มทําการรังวัดเก็บข้ อมูลโดยเลือก F3


F3:FS/SS

19. ที่ PT# กดปุ่ มINPUT แล้ วตั้งชื่อ แล้ว ใส่ PT


กดปุ่ ม ENT F4
20. ที่ PCODE ใส่ รหัส, R.HT ใส่ ความสู ง ใส่
ของเป้าปริซึม โดยกดปุ่ มINPUT แล้ว PCODE,F4
กรอกค่ าแล้ วกดปุ่ ม ENT ใส่
R.HT,F4
21. เล็งเป้าปริซึมทีต่ ้ องการรังวัดแล้วเลือก เล็งเป้า
MEAS F3
22. ทําการรังวัดโดยเลือก SD (กรณีที่ F2 หรือ F3
ต้ องการทราบค่ ามุมและระยะ) หรือ
NEZ (กรณีทตี่ ้ องการทราบค่ าพิกดั )
23. เล็งเป้าถัดไปแล้ วเลือก MEAS เล็งเป้า
F3
24. เลือก SD F2
25. เล็งเป้าถัดไปแล้ วเลือก ALL เพือ่ รังวัด เล็งเป้า
แบบอัตโนมัติ (ในกรณีทรี่ ู ปแบบของ F4
ชื่อจุด PCODE และ ความสู งของเป้า
ไม่ มีการเปลีย่ นแปลง )
26. เมื่อรังวัดเสร็จกดปุ่ ม ESC เพือ่ ออกสู่ ESC
หน้ าจอหลัก
23

การวางผัง (LAYOUT)
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F2:LAYOUT F2

3. เลือก INPUT F1
4. ที่ FN ตั้งชื่อชื่อแฟ้มงานใหม่ ตั้งชื่อแฟ้ม
5. เลือก ENT F4
6. เลือก F1:OCC.PT INPUT เพือ่ ใส่ ค่า
พิกดั จุดตั้งกล้อง ความสู งกล้อง F1

7. เลือก NEZ F3

8. กดปุ่ ม INPUT แล้วใส่ ค่า N แล้ วกดปุ่ ม F1


ENT ใส่ ค่าN , F4
9. ใส่ ค่าพิกดั EและZ วิธีการเดียวกับข้ อ 8 ใส่ ค่าE , F4
ใส่ ค่าZ , F4
10. ที่ INS.HT ใส่ ค่าความสู งกล้องแล้วกด ใส่ INS.HT
ปุ่ ม ENT F4

11. เลือก F2:BACKSIGHT F2

12. เลือก NE/AZ เพือ่ ใส่ ค่าพิกดั ในกรณีที่ F3


ทราบค่ าพิกดั หรือเลือก AZกรณีที่
ทราบมุมอะซิมุทของจุด BACK
SIGHT
13. เลือก INPUT F1
14. ใส่ ค่าพิกดั N แล้ วกดปุ่ ม ENT ใส่ ค่า N, F4
15. ใส่ ค่าพิกดั E แล้วกดปุ่ ม ENT ใส่ ค่า E, F4
16. เล็งเป้า BACK SIGHT เล็งเป้า BS
17. เลือก YES F3
24

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


18. เลือก F3:LAYOUT F3

19. เลือก NEZ F3


20. เลือก INPUT F1

21. ใส่ ค่าพิกดั N แล้วกดปุ่ ม ENT ใส่ ค่า N, F4


22. ใส่ ค่าพิกดั E และ Z วิธีการเดียวกับข้ อ ใส่ ค่า E, F4
21 ใส่ ค่า Z, F4
23. ใส่ ค่าความสู งเป้าปริซึมที่ R.HT แล้ว ใส่ ค่า R.HT
กดปุ่ ม ENT F4

24. เล็งเป้าปริซึมแล้วเลือก ANGLE เล็งเป้า


F1

25. หมุนกล้องจนค่ า dHR = 0°00'00" หมุนกล้อง


ค่ าdHR = 0
26. เลือก DIST F1
27. ขยับเป้าจนค่ า dHD = 0 ( ค่ า dHD เป็ น ขยับเป้าให้
บวกให้ เดินเข้ าหากล้ อง ถ้ าค่ า dHD ค่ าdHD = 0
เป็ นลบ ให้ เดินถอยออกจากกล้อง)
28. ดึงเป้าขึน้ หรือลงจนค่ า dZ = 0 (ค่ า dZ ดึงเป้าขึน้
เป็ นบวกให้ ดงึ เป้าลง ถ้ าค่า dZ เป็ นลบ ลงให้ ค่า
ให้ ดงึ เป้าขึน้ ) dZ = 0
29. ต้ องการกําหนดตําแหน่ งจุดถัดไปเลือก F4
NEXT
30. ทําตามขั้นตอนข้ อ20 - 28
25

การหาค่ าพิกดั จุดตั้งกล้ อง (RESECTION)


1. ในกรณี ที่ใช้การรังวัดระยะเพื่อหาค่าพิกดั จุดตั้งกล้อง ต้องมีจุดอ้างอิงที่ทราบค่าพิกดั ไม่
น้อยกว่า 2จุด สูงสุ ดไม่เกิน 7จุด
2. ในกรณี ที่ใช้การรังวัดมุมเพือ่ หาค่าพิกดั จุดตั้งกล้อง ต้องมีจุดอ้างอิงที่ทราบค่าพิกดั ไม่
น้อยกว่า 3จุด สูงสุ ดไม่เกิน 7จุด

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F2:LAYOUT F2
3. เลือก LIST F2

4. กดปุ่ ม หรือ เลือกแฟ้มงานที่


ต้ องการ
5. เลือก ENT F4
6. กดปุ่ ม F4 เพือ่ เปลีย่ นเป็ นหน้ า P2 F4

7. เลือก F2:NEW POINT F2

8. เลือก F2:RESECTION F2
26

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


9. เลือก INPUT ตั้งชื่อจุดใหม่ ที่ PT# F1
ตั้งชื่อจุด
10. กดปุ่ ม ENT F4
11. ใส่ ความสู งของกล้ องที่ INS.HT แล้วกด ใส่ INS.HT
ปุ่ ม ENT F4
12. เลือก NEZ F3

13. เลือก INPUT F1


14. ใส่ ค่าพิกดั N แล้วกดปุ่ ม ENT ใส่ ค่า N, F4
15. ใส่ ค่าพิกดั E และ Z วิธีการเดียวกับข้ อ 14 ใส่ ค่า E, F4
ใส่ ค่า Z, F4
16. ใส่ ค่าความสู งเป้าปริซึมที่ R.HT แล้วกด ใส่ ค่า R.HT
ปุ่ ม ENT F4

17. เล็งเป้าจุดอ้ างอิงที่ 1 เล็งเป้า 1


18. เลือก DIST F4

19. รังวัดจุดอ้ างอิงที2่ ตามขั้นตอนข้ อที่ 12-


18เมื่อรังวัดครบ 2จุดจะปรากฎหน้ าต่ าง
SELECT GRID FACTOR

20. เลือก F2:CALC MEAS. DATA จะ F2


ปรากฎค่า RESIDUAL ERROR ที่
หน้ าจอ
21. เลือก NEXT เพือ่ รังวัดจุดถัดไป F1

22. รังวัดจุดอ้ างอิงถัดไป ตามขั้นตอนข้ อที่


12-18 จนครบทุกจุด(สู งสุ ดไม่ เกิน 7จุด)

.
27

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


23. เลือก CALC ทีห่ น้ าจอจะแสดงผลค่ า F4
เบี่ยงเบนมาตรฐาน
24. กดปุ่ ม F2 เพือ่ ดูค่า S.D ของค่ าพิกดั แต่ ล่ะ F2
แกน

25. เลือก NEZ เพือ่ ดูค่าพิกดั ของจุดตั้งกล้อง F4


ทีค่ าํ นวณได้

26. เลือก YES เพือ่ ยืนยัน ค่าพิกดั ใหม่ นีจ้ ะถูก F3


บันทึกเก็บไว้ และใช้ เป็ นค่ าพิกดั ของจุด
ตั้งกล้ อง
28

การจัดการข้ อมูลในหน่ วยความจํา (MEMORY MANAGER MODE)


การเปลีย่ นชื่อและลบแฟ้มงาน
ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F3: MEMORY MGR. F3
3. เลือก F3:FILE MAINTAN F3

4. กดปุ่ ม หรือ เลือกแฟ้มงาน


ทีต่ ้ องการ
5. เลือก REN F1

6. เปลีย่ นชื่อแฟ้มงานใหม่ เปลีย่ นชื่อ


7. กดปุ่ ม ENT F4

8. กดปุ่ ม หรือ เลือกแฟ้มงาน F4


ทีต่ ้ องการการลบ

9. เลือก DEL F3
10. เลือก YES เพือ่ ยืนยันการลบแฟ้ม F4
งานทีเ่ ลือก

การฟอร์ เมทข้ อมูลในหน่ วยความจํา


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. 1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F3: MEMORY MGR. F3
3. กดปุ่ มF4 จํานวน 2ครั้ง เพือ่ ไปยังหน้ า F4
P3 F4
29

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


4. เลือก F2:INITIALIZE F2

5. เลือกประเภทข้ อมูลทีต่ ้ องการจะลบ F3


F1: FILE AREA (แฟ้มงาน)
F2: PCODE LIST (รหัส)
F3: ALL DATA (ข้ อมูลแฟ้มและรหัส)
6. เลือก YES เพือ่ ยืนยันการลบข้ อมูล F4

ตั้งค่ าเชื่อมต่ อข้ อมูล (Setting Parameter of Data Communications)


ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล
1. 1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F3: MEMORY MGR. F3
3. กดปุ่ มF4 จํานวน 2ครั้ง เพือ่ ไปยังหน้ า F4
P3 F4

4. เลือก F1:DATA TRANSFER F1

5. เลือก F1:GTS FOEMAT F1


30

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


6. เลือก F3:COM PARAMERERS F3

7. เลือก F1:PROTOCAL F1
8. เลือก F1:ACK/NAK แล้ วกดปุ่ ม ENT F1
F4
9. เลือก F2:BAUD RATE F2
10. กดปุ่ ม หรือ เลือก 9600 แล้วกด OR
ปุ่ ม ENT 9600
F4
11. เลือก F3:CHAR. / PARITY F3
12. เลือก F3:8/NONE แล้วกดปุ่ ม ENT F1
F4
13. กดปุ่ มF4 เพือ่ ไปยังหน้ า P2 F4
14. เลือก F1:STOP BITS F1
15. เลือก F1:1 แล้ วกดปุ่ ม ENT F1
F4
31

2. วิธีการโหลดข้ อมูลจากกล้ องเข้ าคอมพิวเตอร์ โดยใช้ โปรแกรม Topcon Link


1. เปิ ดโปรแกรม Topcon Link

2. เลือกเมนู File=>Import from Device…


32

3. สร้าง Device โดยการคลิกที่ Add New Station (ช่องด้านซ้าย)

4. ใส่ ชื่อที่ Name เลือก Port ให้ตรงกับสายคอมพอร์ท ส่ วนที่Model ลือกเป็ น GTS-6


33

5. เลือกแถบ Advanced แล้วตั้งค่าการเชื่อมต่อข้อมูลให้ตรงกันทั้งกล้องและคอมพิวเตอร์ที่ใช้


โหลดข้อมูล ดังภาพ

6. ดับเบิ้ลคลิกที่Station ที่สร้างขึ้นมาใหม่
34

7. เลือก file1.txt ในช่องด้านซ้าย แล้วเลือกโฟลเดอร์ที่ตอ้ งการเก็บไฟล์ในช่องด้านขวา

8. คลิก จะขึ้นหน้าต่างดังภาพ แล้วคลิก


35

9. เปิ ดกล้อง แล้วเลือกไฟล์ที่ตอ้ งการโหลดเข้าสู่คอมพิวเตอร์ (เมื่อโหลดเสร็ จในขั้นตอนนี้


สามารถปิ ดกล้องได้เลย)

ขั้นตอนการทํางาน คําสั่ ง หน้ าจอแสดงผล


1. กดปุ่ ม MENU MENU
2. เลือก F3: MEMORY MGR. F3
3. กดปุ่ มF4 จํานวน 2ครั้ง เพือ่ ไปยังหน้ า F4
P3 F4

4. เลือก F1:DATA TRANSFER F1

5. เลือก F1:GTS FOEMAT F1

6. เลือก F1: SEND DATA F1

7. เลือก F1:MEAS. DATA (ถ้ าต้ องการ F1


ส่ งออกข้ อมูลค่ าพิกดั เลือก F2 :
COORD. DATA)
8. เลือก INPUT F1
9. ใส่ ชื่อแฟ้มงานทีต่ ้ องการส่ งออก ใส่ ชื่อแฟ้ม
10. กดปุ่ ม ENT F4
11. เลือก YES เพือ่ ยืนยันการส่ งออกข้ อมูล F3
จากกล้อง
36

10. เมื่อโหลดเสร็ จหน้าจอจะแสดงข้อมูลดังภาพ

11. ถ้าต้องการบันทึกข้อมูลเป็ นนามสกุลอื่นๆหรื อ *.dwg หรื อ *.dxf ให้เลือกเมนู File =>


Save As
37

12. ที่หน้าต่าง Save As เลือกที่เก็บข้อมูล แล้วตั้งชื่อที่ File Name ส่ วนที่ Format name เลือก
เป็ นนามสกุลที่ตอ้ งการ (ในที่น้ ีเลือกเป็ น .dxf) แล้วกดปุ่ ม Save

**************************************************

Das könnte Ihnen auch gefallen