Sie sind auf Seite 1von 43

เคมไฟฟา

เคมีไฟฟ้า
(Electrochemistry)
โโครงการจัดั ตัง้ั สายวิชิ าเคมีี
คณะศิ
ณ ลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์
ม.เกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกําแพงแสน
1

ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Pretest
ƒ เคมีไฟฟ้า คืออะไร
ƒ เคมีไฟฟ้ามีกี่ประเภท
เคมไฟฟามกประเภท
ƒ เคมีไฟฟ้ามีประโยชน์อย่างไร
ƒ อะไรทําให้เกิดเคมีไฟฟ้า
ƒ ศักย์ไฟฟ้าคืออะไร เกิ
ศกยไฟฟาคออะไร เกดไดอยางไร
ดได้อย่างไร
ƒ ศักย์รีดักชัน-ศักย์ออกซิเดชัน ต่างกันอย่างไร
ƒ ปฏิกิริยาใดเกิดศักย์ไฟฟ้าได้
ƒ ศักย์ไฟฟ้ามากน้อยมีผลจากอะไร
ศกยไฟฟามากนอยมผลจากอะไร
ƒ ปฏิกิริยาใดเกิดเองได้
ƒ ปฏิกิริยาที่เกิดเองไม่ได้ จะทําให้เกิดได้หรือไม่
2
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
เนื้อหา
ƒ ปฏิกิริยารีดอกซ์ ƒ ประโยชน์ของเซลล์เคมีไฟฟ้า
ƒ เซลล์เคมีไฟฟ้า ƒ การแยกสลายด้วยไฟฟ้า
• เซลล
เซลล์กลว
ลั วานินก ƒ เซลลกลวานกชนดตาง
เซลล์กัลวานิกชนิดต่าง ๆ
• เซลล์อเิ ล็กโตรไลติก
ƒ ศกยไฟฟาของเซลล
ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์
• แรงเคลื่อนไฟฟ้า
• สมการของเนินส์และค่าคงที่
สมดุล
• เซลล์ความเข้มข้น

3
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เคมีไฟฟ้า
ƒ การเปลี่ยนแปลงทาง ƒ การใช้พลังงานไฟฟ้าทํา
เคมีที าํ ใให้้เกิดพลัังงาน ใ ้เกิดการเปลีีย่ นแปลง
ให้
ไฟฟ้า ทางเคมี
A+B→C+D C+D→A+B
Electricity Electricity

ƒ ไฟฟาคออะไร
ไฟฟ้าคืออะไร ไฟฟาใชอเลกตรอนหรอไม?
ไฟฟ้าใช่อิเล็กตรอนหรือไม่?
ƒ ปฏิกิริยาที่เกี่ยวข้องกับเคมีไฟฟ้าเป็นปฏิกิริยารีดอกซ์
เนือื่ งจากมีกี ารถ่่ายเทอิิเล็ก็ ตรอน
4
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ปฏิฏกิริยารีดอกซ์ (Redox reaction)
ƒ ปฏิกริ ิยาที่มีการถ่ายเท e (ให้และรับ) ทําให้เลข
ออกซิเดชันของธาตุเปลี่ยน
oxidized reduced

Zn( s ) + 2 H + (aq ) → Zn 2+ (aq ) + H 2 ( g )


0 +1 → +2 0
• Oxidation Reaction
ถูก oxidized เสีย e- เลขออกซิเดชั่นเพิ่ม
• Reduction Reaction
ถูก reduced รับ e- เลขออกซิเดชั่นลด

5
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เลขออกซิเดชั่น
ƒ Oxidation number คือตัวเลขที่แสดงประจุโดยประมาณของ
ธาตุในสารประกอบ
• ธาตุ
ธาตในสภาวะอิ
ในสภาวะอสระมเลขออกซเดชนเปนศู
สระมีเลขออกซิเดชันเป็นศนย์
นย : Cu(s), Cl2(g)
• ไอออนเดี่ยว มีเลขออกซิเดชั่นของเท่ากับประจุ : F– Mg2+
• อะตอมในโมเลกุ
ใ โ ล
Šโลหะหมู่ IA +1 และ IIA +2
Šฟลูออรีน -1
Šไฮโดรเจน +1 ยกเว้น Hydride (LiH : H เป็น -1)
Šออกซิเจน -2 ยกเว้น peroxide (H2O2) superoxide (KO2) และ OF2
Šผลรวมของเลขออกซิเดชั่นของธาตุใุ นสารประกอบเท่ากับประจุสุ ทุ ธิของ
สารประกอบนั้น
6
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ปฏิฏกิริยารีดอกซ์
2Ca(s)+O2(g) → 2CaO(s)
C ( ) 2H+(aq)→Ca
Ca(s)+2H ( )→C 2+(aq)+H
( ) H2(g)
()
Oxidation Reaction
ƒ ธาตุมีเลข oxidation เพิ่มขึ้น
• เป็นตัวรีดิวซ์ (reducingg agent)
g
• เสียอิเล็กตรอนให้ตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent: ตัวรับอิเล็กตรอน)

Reduction Reaction
ƒ ธาตุุมีเลข oxidation ลดลง
• เป็นตัวออกซิไดซ์ (oxidizing agent)
• รบอเลกตรอนจากตวรดวซ
รับอิเล็กตรอนจากตัวรีดิวซ์ (reducing agent: ตวใหอเลกตรอน)
ตัวให้อิเล็กตรอน)
7
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวออกซิไดซ์-ตัวรีดอกซ์
ƒ Common oxidation numbers
H He
+1
-1
Li Be B C N O F Ne
+1 +2 +3 +4 +5 -1 -1
+2 … -2
-4
4 -3
3
Na Mg Al Si P S Cl Ar
+1 +2 +3 ±4 +5 +6 +7…
±3 ±2 ±1
Rb Sr Se Ti V Cr … Cu Zn Ga Ge As Se Br Kr
+1 +2 +3 +4 +5 +6 +2 +2 +3 ±4 +5 +6 +7 +4
+3 +4 +3 +1 +2 ±3 +4 +5 +2
+2 +3 +2 -2 ±1
+2
Cs Ba Y Zr Nb Mo … Ag Cd In Sn Sb Te I Xe
+1 +2 +3 +4 +5 +6 +1 +2 +3 +4 +5 +6 +7 +6
+4 +4 +2 ±3 +4 +5 +4
+2 -2 ±1 +2 8
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างปฏิฏกิริยารีดอกซ์
Oxidation
Reduction

Cd ( s ) + NiO2 ( s ) + 2 H 2O(l ) → Cd (OH ) 2 ( s ) + Ni (OH ) 2 ( s )

0 +4 -2 +1 -2 +2 -2 +1 +2 -2 +1

• Ni มเลขออกซเดชนลดลง
มีเลขออกซิเดชั่นลดลง (+4 → +2) Reduction
• Cd มีเลขออกซิเดชั่นเพิ่มขึ้น (0 →+2) Oxidation

9
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ครึง่ ปฏิฏกิริยา (Half


(Half--Reactions)
ƒ แม้ว่ากระบวนการ oxidation และ reduction จะเกิดขึ้นพร้อมๆกัน แต่
เราสามารถพิจิ ารณาสองกระบวนการแยกกััน และจะเรียี กแต่ละ
กระบวนการว่าครึ่งปฏิกิริยา ในแต่ละครึ่งปฏิกิริยาจะมีอิเล็กตรอน
เกี่ยวข้อ้ งด้้วย
ƒ เมื่อรวมสองครึ่งปฏิฏกิริยาจะได้ปฏฏิกิริยารวม(redox) และจํานวน
อิเล็กตรอนจะต้องดุล (ไม่มีอิเล็กตรอนปรากฏในสมการสุทธิ)

Sn 2+ (aq ) + 2 Fe 3+ (aq ) → Sn 4+ (aq ) + 2 Fe 2+ (aq )


O id ti : SSn 2+ (aq ) → Sn
Oxidation S 4+ (aq ) + 2e −
Reduction : 2 Fe3+ (aq ) + 2e − → 2 Fe 2+ (aq )

10
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างครึง่ ปฏิฏกิริยา
ƒ Oxidation rxn.
• Sn2+→Sn4++2e- เสียอิเล็กตรอน
ƒ Reduction rxn.
• Fe3++e-→Fe2+ รับอิเล็กตรอน
รบอเลกตรอน
ƒ Redox rxn. (ต้องดุลจํานวนอิเล็กตรอน)
• Sn2+→Sn4++2e- + 2x(Fe3++e-→Fe2+ )
• Sn2+ 3 +2e- →Sn4+
2 + 2Fe3+ 4 +2e- + 2Fe2+
2

• Sn2++ 2Fe3+ →Sn4+ + 2Fe2+


11
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การดุลุ สมการรีดอกซ์
1. พิจารณาโมเลกุล อะตอม หรือ ไอออนที่ถูกออกซิไดซ์และถูกรีดิวซ์จาก
เลขออกซิเิ ดชันั ทีเ่ี ปลี
ป ีย่ นไป
ไป
2. เขียนครึ่งปฏิกิริยาที่เกิดออกซิเดชันและรีดักชัน
3. ทําครึ่งปฏิกิริยาทั้งสองให้สมดุลทั้งจํานวน อะตอมและจํานวนประจุไฟฟ้า
4 ดุดลอะตอม
4. ลอะตอม O และ H ในสมการ
• ดุล O ด้วย H2O
• ดุล H ด้้วย H+
• ถ้า ส.ล.ล.เป็นเบส เติม OH- ทัง้ สองฝัง่ เพื่อสะเทิน H+ ในปฏิกิริยา(ถ้ามี)
4. ทําจํานวน e- ที่ให้และรับในทั้งสองครึ่งปฏิกิริยาให้เท่ากัน
5 รวมครงสมการทงสองทดุ
5. รวมครึ่งสมการทั้งสองที่ดลลแล้
แลวใหเปนสมการสุ
วให้เป็นสมการสทธิทธของปฏกรยา
ของปฏิกิริยา
รีดอกซ์
12
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างการดุลุ สมการรีดอกซ์ 1
1. หาตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์จากเลขออกซิเดชันที่เปลี่ยนไป
Fe2+ + Cl2 → Fe3+ + Cl-
oxidation reduction
2. เขียี นครึง่ึ ปฏิกิริยา(ยังั ไไม่ต้องดุล)
ƒ Oxidation: Fe2+ → Fe3+ + e- Fe2+ เป็นตัวรีดิวซ์
ƒ Reduction: Cl2 + e- → Cl- Cl เป็นตัวออกซิไดซ์
3. ดุลจํานวนอะตอมและอิเล็กตรอน
ƒ Oxidation: Fe2+ → Fe3+ + e-
ƒ Reduction: Cl2 + 2e- → 2Cl-
4. ดุลจํานวนe- ของสองครึ่งปฏิกิริยา(เอาสปส.คูณ) แล้วรวมกัน
2Fe2+ + Cl2 + 2e- → 2Fe3+ + 2e- + 2Cl-
2Fe2+ + Cl2 → 2Fe3+ + 2Cl-
13
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวอย่างการดุลุ สมการรีดอกซ์ 2
H2S(aq) + NO3-(aq) → S(s) + NO(g)
1. เขียนครึ่งปฏิกิริยา
ŠOxidation: H2S(aq) → S(s)
ŠReduction: NO3-(aq) → NO(g)
2 ดุดลสมการ
2. ลสมการ
ŠOxidation : H2S(aq) → S(s)
– ดุดลอะตอม ด้วย H+
ลอะตอม ดุดลล H ดวย
H2S(aq) → S(s) + 2H+(aq)
– ดุดลประจด้
ลปร จุดวยอเลกตรอน
วยอิเล็กตรอน
H2S(aq) → S(s) + 2H+(aq) + 2e-
– ปฏิกิริยาเกิดในกรด ไม่ต้องดุล H+ อีก

14
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างการดุุลสมการรีดอกซ์ 2 (ต่อ)
ŠReduction: NO3-(aq) → NO(g)
– ดุลอะตอม ดุล O ด้วย H2O
NO3-(aq) → NO(g) + 2H2O(l)
– ดุล H ด้วย H+
NO3-(aq) + 4H+(aq) → NO(g) + 2H2O(l)
– ดุลประจุด้วยอิเล็กตรอน
NO3-(aq)
q + 4H+(aq)q + 3e- → NO(g)
g + 2H2O(l)
3. รวมครึ่งปฏิกิริยา (ดุลจํานวน e- ของทั้งสอง Rxn.)
ŠOxidation:
ŠO S( ) → 3S(s)
id ti 3H2S(aq) 3S( ) + 6H+(aq) 6-
( ) + 6e
ŠReduction: 2NO3-(aq) + 8H+(aq) + 6e- → 2NO(g) + 4H2O(l)
3H2S(aq) + 2NO3-(aq) + 2H+(aq) → 2NO(g) + 4H2O(l)+3S(s)
15
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวอย่างการดุลุ สมการรีดอกซ์ 3
Cr2O72-(aq) + Br-(aq) → Cr3+(aq) + Br2(aq)
1. เขียนครึ่งปฏิกิริยา
ŠOxidation:
Oxidation: Br-(aq) → Br2(aq)
ŠReduction: Cr2O72-(aq) → Cr3+(aq)
22. ดุลสมการ
ŠOxidation
– ดุลอะตอม ดุลประจุด้วยอิเล็กตรอน
q → Br2(aq)
2Br-(aq) q + 2e-
ŠReduction
ลอะตอม Cr Cr2O72-(aq) → 2Cr3+(aq)
– ดุดลอะตอม
16
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างการดุุลสมการรีดอกซ์ 3 (ต่อ)
– ดุลอะตอม ดุล O ด้วย H2O
Cr2O72-2 (aq) → 2Cr3+
3 (aq)+ 7H O(l)
2
– ดุล H ด้วย H +

Cr2O72-(aq) + 14H+ → 2Cr3+(aq)+ 7H2O(l)


– ดุลประจุด้วยอิเล็กตรอน
Cr2O72-(aq) + 14H+ + 6e- → 2Cr3+(aq)+ 7H2O(l)
3 รวมครงปฏกรยา
3. รวมครึ่งปฏิกิริยา (ดุ
(ดลจํ านวน e- ของทงสอง
ลจานวน ของทั้งสอง Rxn.)
Rxn )
ŠOxidation: 6Br-(aq) → 3Br2(aq) + 6e-
ŠReduction: Cr2O72-(aq) + 14H+ + 6e- → 2Cr3+(aq)+ 7H2O(l)
Cr2O72-(aq) + 14H+ + 6Br-(aq) → 3Br2(aq) + 2Cr3+(aq)+ 7H2O(l)
17
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวอย่างการดุลุ สมการรีดอกซ์ 4
Bi2O3(s) + ClO-(aq) → BiO3-(aq) + Cl-(aq) ในเบส
1. เขียนครึ่งปฏิกิริยา
ŠOxidation:
Oxidation: Bi2O3(s) → BiO3-(aq)
ŠReduction: ClO-(aq) → Cl-(aq)
22. ดุลสมการ
ŠOxidation
– ดุลอะตอม, ดุล O ด้วย H2O, ดุล H ด้วย H+ ดุลประจุด้วย e-
O(l)) → 2BiO
Bi2O3((s)) + 3H2O( O3-((aq)
q) + 6H+ + 4e-
– สะเทิน H+ ด้วย OH- (ทัง้ สองฝั่ง)
Bi2O3(s) + 3H2O(l) + 6OH- → 2BiO3-(aq) + 6H+ + 6OH- + 4e-
Bi2O3(s) + 6OH- → 2BiO3-(aq) + 3H2O(l) + 4e- 18
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างการดุุลสมการรีดอกซ์ 4 (ต่อ)
ŠReduction: ClO-(aq) → Cl-(aq)
– ดุลอะตอม ดุล O ด้วย H2O ดุล H ด้วย H+ ดุลประจุด้วย e-
ClO-(aq)+ 2H+(aq) + 2e- → Cl-(aq) + H2O(l)
– สะเทิน H+ ด้วย OH- (ทัง้ สองฝั่ง)
ClO-(aq)+ 2H+(aq) + 2OH- + 2e- → Cl-(aq) + H2O(l) + 2OH-
ClO-(aq)+ H2O(aq) + 2e- → Cl-(aq) + 2OH-
3 รวมครงปฏกรยา
3. รวมครึ่งปฏิกิริยา (ดุ
(ดลจํ านวน e- ของทงสอง
ลจานวน ของทั้งสอง Rxn.)
R n)
ŠOxidation: Bi2O3(s) + 6OH- → 2BiO3-(aq) + 3H2O(l) + 4e-
ŠReduction: 2ClO-(aq)+ 2H2O(aq) + 4e- → 2Cl-(aq) + 4OH-
Bi2O3(s) + 2ClO-(aq)+ 2OH- → 2BiO3-(aq) + 2Cl-(aq) + H2O(l)
19
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

แบบฝึกหัด
ƒ ดุลสมการ
• Al → Al3+ + e-
• 4 H+ + NO3- + 3 e- → NO + 2 H2O และ
Cd --> Cd2+ + 2 e-
• Bi(OH)3 + MnO4- → BiO3- + MnO2
• Au3+3 (aq) + I-(aq) → Au(s) + I (s)
2
• Cu + NO3- → Cu2+ + NO (ในกรด)
• CrO42- + I- → Cr2+ + IO3-- (ในเบส)
• I- + IO3- → I2
20
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ปฏิฏกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้เอง
ƒ Spontaneous oxidation-reduction reactions
• โลหะตะกั่วในสารละลายเงิน : Pb(s) และ Ag+(aq)
ŠPb( ) + 2Ag
ŠPb(s) ( ) → Pb2+(aq)
2A +(aq) ( ) + 2Ag(s)
2A ( ) เกดขนไดเอง
ิ ึ้ ไ ้
• โลหะเงินในสารละลายตะกั่ว : Ag(s) และ Pb2+(aq)
ŠPb2+(aq) + 2Ag(s) → Pb(s) + 2Ag+(aq) ?
ƒ ปฏิ
ปฏกรยาจ
กิริยาจะเกิ
เกดเองไดหรอไมถู
ดเองได้หรือไม่ถกกํ
กกาหนดความวองไว(ความแรง)ของโลห
าหนดความว่องไว(ความแรง)ของโลหะ
ในการรับหรือให้อิเล็กตรอน + 2+
Pb( s ) + 2 Ag (aq) Pb (aq ) + 2 Ag ( s )
stronger stronger weaker weaker
red. agent oxd. agent oxd. agent red. agent

21
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ความแรงของตัวรีดวิ ซ์
ƒ โดยทวไปโลหะมแนวโนมทจะใหอเลกตรอน
โดยทั่วไปโลหะมีแนวโน้มที่จะให้อิเล็กตรอน (เปนตวรดวซ)
(เป็นตัวรีดิวซ์) แต
แต่
ความแรงของการเป็นตัวรีดิวซ์หรือความสามารถในการให้
อิเล็กตรอนของโลหะแต่ละชนิดไม่เท่ากัน
อเลกตรอนของโลหะแตละชนดไมเทากน
ƒ การเปรียบเทียบความแรงของตัวรีดิวซ์ทําโดยให้โลหะทํา
ปฏิกิริยารีดอกซ์กับน้ําเพื่อให้ H2
2N ( ) + 2H2O(l) → H2(g)
2Na(s) ( ) + 2NaOH(aq)
2N OH( )
ƒ K Ba Ca Na Mg Al Mn Zn Ni Pb Cu Ag Pt Au
เกิดปฏิกิริยากับน้ําเย็น เกิดปฏิกิริยากับไอน้ํา เกิดปฏิกิริยากับกรด

22
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ความแรงของตัวรีดวิ ซ์-ออกซิไดซ์
ƒ ความแรงของตัวออกซิไดซ์ขึ้นกับความสามารถในการรับอิเล็กตรอน
(A + e- → A-)
ƒ ความแรงของตัวรีดิวส์ขึ้นกับความสามารถในการให้อิเล็กตรอน
(B → B++e-)
ƒ ความสามารถในการรับอิเล็กตรอนดููจากค่า Electron Affinity
ƒ คู่ตัวรีดิวซ์-ตัวออกซิไดซ์

ตัวรีดิวซ A → A++ e- ออน


แรง
ตัวออกซิไดซ A + + e- → A อแรง
อน

23
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ความแรงของตัวรีดวิ ซ์-ออกซิไดซ์
ƒ Reduction Half Reaction
Weakest Oxd.
Oxd. Agent Strongest Red. Agent
K+(aq) + e- → K(s)
Ba2+(aq) + 2e- → Ba(s)
Sr2+(aq) + 2e- → Sr(s)
Ca2+(aq) + 2e- → Ca(s)
Na+(aq) + e- → Na(s)
Mg2+(aq) + 2e- → Mg(s)
Pb2+(aq) + 2e- → Pb(s)
Cu2+(aq)
C 2 - → Cu(s)
( ) + 2e C ( )
Ag+(aq) + e- → Ag(s)
Pt22+(aq) + 2e- → Pt(s)
Strongest Oxd. Agent Weakest Red. Agent
24
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ค่าศักย์ไฟฟ้ารีดักชั่น
Standard Reduction
Reduction Half-Reaction
Potential E° (V)
K+(aq) + e- → K(s) -2.93
Ba2+(aq) + 2e- → Ba(s) -2.90
Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) -0.76
Pb2+(aq) + 2e- → Pb(s) -0.13
2H+(aq) 2e- → H2(g)
( ) +2 ( ) 0 00
0.00
Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) +0.34
Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0 80
+0.80
Pt2+(aq) + 2e- → Pt(s) +1.20
Au3+(aq) + 3e- → Au(s) +1 50
+1.50

ศักย์รีดักชั่นเป็นบวก มีแนวโน้มจะเกิดรีดักชั่น เป็นตัวออกซิไดซ์ที่แรง


E°(Ba2+→Ba+) + E°(Ba+→Ba) ≠ E°(Ba2+→Ba)
25
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

แรงเคลื่อนไฟฟ้า (emf)
ƒ ปฏิกิริยารีดอกซ์มกี ารให้และรับอิเล็กตรอน
• Total Rxn.: Pb(s) + 2Ag+(aq) → Pb2+(aq) + 2Ag(s)
ŠOxidation: Pb(s) → Pb2+(aq) + 2e-
ŠReduction: 2Ag+(aq) + 2e- → 2Ag(s) e-

V
ƒ Electromotive Force (emf) หรือ Electrical potential คือ
แรงเคลื่อนไฟฟ้าหรือศักย์ไฟฟ้าที่เกิดขึ้นเนื่องจากการถ่ายเท
อิเล็กตรอนระหว่างตัวออกซิไดซ์และตัวรีดิวซ์ในปฏิฏกิริยารีดอกซ์
สามารถวัดโดยใช้โวลต์มิเตอร์

26
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
แรงเคลื่อนไฟฟ้าของปฏิฏกิริยา
ƒ แรงเคลื่อนไฟฟ้าของปฏิกิริยาของปฏิกิริยารีดอกซ์เป็นผลรวม
ของแรงเคลื่อนไฟฟ้าของครึ่งปฏิกิริยา
• ศกยออกซเดชน
ศักย์ออกซิเดชั่น (Oxidation potential)
• ศักย์รีดักชั่น (Reduction potential)
Erxn = Eox + Ered
o
Erxn = Eoxo + Ered
o

สภาวะมาตรฐาน
Šสภาวะมาตรฐาน: ความดัน 1 atm, สารบริสุทธิ์, สารละลาย
ความเข้มข้น 1M , อุุณหภููมิที่กําหนด(25°C)
27
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การวัดแรงเคลือ่ นไฟฟ้าครึง่ ปฏิฏกิริยา


ปฏิกิริยารีดอกซ์ที่เกิดขึ้นได้เองจะมีแรงเคลือ่ นไฟฟ้าเป็นบวก
ƒ การวัดแรงเคลื่อนไฟฟ้าจะต้องครบวงจร คือมีทั้งครึ่งปฏิกิริยารีดักชั่นและ
ออกซิเดชั่น
• ศักย์รีดักชั่น และ ศักย์ออกซิเดชั่น ของครึง่ ปฏิกิริยาเดียวกันจะมีคา่ เท่ากันแต่
เครื่องหมายตรงกันข้าม
Š K+(aq) + e- → K(s) E= -2.98 V ศักยออกซิเดชั่น Eox
Š K(s) → K+(aq) + e- E=+2 98 V
E=+2.98 ศักยรีดักชั่น Eredd
ศกยรดกชน
• กําหนดให้ครึง่ ปฏิกิริยา 2H+(aq) + 2e- → H2(g) มีค่าศักย์รีดักชั่นเท่ากับ 0.0
• ในการหาคาศกยของครงปฏกรยาจะวดเทยบกบครงปฏกรยาไฮโดรเจน
ใ ่ ั ์ ึ่ ป ิ ิ ิ ั ี ั ึ่ ป ิ ิ ิ ไ โ

Erxn = Ehalf
h lf Rxn. + E H 2 = Ehalf
h lf Rxn.

28
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
การพิจารณาศักย์ไฟฟ้ารีดกั ชั่น
ƒ ค่คาศกยรดกชนเปนบวกมาก
าศักย์รีดักชั่นเป็นบวกมาก มแนวโนมจะเกดรดกชน(ถู
มีแนวโน้มจะเกิดรีดักชั่น(ถกรี
กรดวซ)
ดิวซ์) เปนตว
เป็นตัว
ออกซิไดซ์ที่แรง
ƒ EE°r(Ag) > EE°r(Cu) ดงนน
ดังนั้น Ag จะเกดรดกชน
จะเกิดรีดักชั่น และสามารถออกซไดซ
และสามารถออกซิไดซ์ Cu ได ได้
• Cu(s) → Cu2+(aq)+2e-
• Ag+(aq)
( ) + e- → Ag(s)
()
ƒ E°r(Na) < E°r(Cu) ดังนั้น Na ไม่เกิดรีดักชั่นและไม่สามารถออกซิไดซ์ Cu ได้
Standard Reduction
Reduction Half-Reaction
Potential E° (V)
( ) + e- → Na(s)
Na+(aq)
N N ( ) 2 71
-2.71
Pb2+(aq) + 2e- → Pb(s) -0.13
Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) +0 34
+0.34
Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0.80
29
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวอย่างการหาศักย์ไฟฟ้าของปฏิฏกิรยิ า 1
ƒ ปฏิกิริยารีดอกซ์ระหว่าง Zn2+(aq) และ Sn(S) เกิดขึ้นเองได้
หรือื ไไม่่
q + Sn(s) → Zn(s) + Sn2+(aq)
Zn2+(aq) q
• Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) Ered= -0.76 V
• Sn2+(aq) + 2e- → Sn(s) Ered= -00.14
14 V
Erxn = Eox ( Sn → Sn 2+ + 2e − ) + Ered ( Zn 2+ + 2e − → Zn)
Erxn = +0.14 V − 0.76 V
= −0.62 V
ปฏิกิริยานี้เกิดขึ้นเองไม่ได้เนื่องจากศักย์รวมมีค่าเป็นลบ
แต่ปฏฏิกิริยาย้อนกลับเกิดเองได้เพราะจะมีศักย์รวมเป็นบวก
30
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างการหาศักย์ไฟฟ้าของปฏิฏกิรยิ า 2
ƒ ถ้าศักย์ไฟฟ้าของปฏิกิริยาเท่ากับ +1.08 V จงหาศักย์
ครึงึ่ ปฏิ
ป กิ ิริยาออกซิเิ ดชั่ันของปฏิ
ป กิ ิริยา
q + Co(s) → 2Ag(s)
2Agg+(aq) g + Co2+(aq)
q
• Ag+(aq) + e- → Zn(s) Ered= +0.80 V
• Co(s) → Co2+(aq) + 2e- Eox = ? V
Erxn = Eox (Co → Co 2+ + 2e − ) + Ered ( Ag + + e − → Ag )
+ 1.08 V = Eox + 0.80 V
Eox = 1.08 − 0.80 = +0.28 V

31
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เซลล์เคมีไฟฟ้า (Electrochemical Cell)


ƒ เซลล์เคมีไฟฟ้า คือ ระบบทีม่ ีการเปลี่ยนแปลงระหว่าง
พลังงานเคมีและพลังงานไฟฟ้า
Chemical energy Electrical energy
• เซลล์กลั วานิก (Galvanic cell, Voltaic cell, Danial cell)
ระบบที่ปฏิกิริยารีดอกซ์เกิดขึ้นเองและให้พลังงานไฟฟ้า
• เซลล์อเิ ล็กโตรไลติก ((Electrolytic
y cell)) ระบบที่ต้องใช้
พลังงานไฟฟ้าเพื่อให้ปฏิกิริยาดําเนินไปได้

32
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
กระแสไฟฟ้า-ความต่างศักย์
ƒ กระแสไฟฟ้า (electric current) คือการไหลของประจุไฟฟ้าซึ่งเกิดขึ้น
เมื่อมีความต่างศักย์ทางไฟฟ้าระหว่างจุดสองจุดที่เชื่อมต่อกันด้วยตัวนํา
สามารถวัดโดยใช้ ammeter
• Ampere (A): 1A = 1 Coulomb/second
โ ์ (Volt): หน่วยของความต่างศักย์ทางไฟฟ้า 1V คือความต่างศักย์
ƒ โวลต์
ทีทใชในการทาใหกร
่ใช้ในการทําให้กระแส
แส 1 A ไหลผานความตานทาน
ไหลผ่านความต้านทาน 1 Ω สามารถวดโดย
สามารถวัดโดย
ใช้ voltmeter
• Volt
V l (V)
(V): 1V = 1 Joule/Coulomb
J l /C l b

33
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เซลล์กัลวานิก (Galvanic Cell)


ƒ เพื่อให้เกิดกระแสไฟฟ้า(มีการไหลของอิเล็กตรอน) สองครึ่งปฏิกิริยาต้อง
แยกจากกันั (เรี
( ยี กว่า่ Halflf cell)
ll) เพือื่ ไม่
ไ ่ให้ส้ ารละลายผสมกันั โดยครึ
โ ่ึ ง
ปฏิกิริยาทั้งสองจะเชื่อมกันด้วยตัวนําไฟฟ้าเพื่อให้ครบวงจร
ƒ ขั้วไฟฟ้า (electrode) บริเวณที่เกิดครึ่งปฏิกิริยา
• Anode (มี e- มาก ขั้วลบ) เสีย e- เกิด oxidation
• Cathode (มี e- น้อย ขั้วบวก) รับ e- เกิด reduction
• อเลกตรอนจะวงจากขวลบไปขวบวก
อิเล็กตรอนจะวิง่ จากขั้วลบไปขั้วบวก

e- e-
Anode Cathode

Half cell Half cell


(oxidation) (reduction)
34
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
e– V e–
NaNO3

Na+ NO3–

NO3– Zn2+
Cu2+ e– – NO3– Zn2+
NO3– e– – NO3–
e
NO3– e
Cu2+ Zn2+ e– Zn2+
NO3– Cu2+ NO3– NO3–
Cu2+ Zn2+ Zn2+ Zn2+

Cu2+(aq) + 2e– → Cu(s) Zn(s) → Zn2+(aq) + 2e–


ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส. 35

เซลล์กัลวานิก (Galvanic Cell)


เมื่อเกิดปฏิฏกิริยา
• Anode : สารละลายมีไอออน
e- e-บวกเพิ่มขึ้น
• Cathode : สารละลายมี
Zn NO3− Na + Cu ไอออนบวกลดลง
anode cathode ƒ เมอเวลาผานไปจะเกดความไม
เมื่อเวลาผ่านไปจะเกิดความไม่
สมดุลของประจุบวกและลบใน
สารละลาย
ƒ Salt Bridge เป็นตัวเชื่อมครึ่งเซลล์
ทั้งสองเข้าด้วยกัน (เกลือที่แตกตัว
ง่ายบรรจในท่
งายบรรจุ ในทอแกว)
อแก้ว) เพอใหมการ
เพื่อให้มีการ
NO3− ถ่ายเทไอออนระหว่างครึ่งเซลล์ทั้ง
NO3− 2+ 2+
สอง เพื่อรักษาสมดุลไอออนใน
Zn Cu
สารละลาย
2+ − 2+ −
Zn( s ) → Zn (aq ) + 2e Cu (aq ) + 2e → Cu ( s )
36
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
สะพานเกลือ (salt bridge)
g
ƒ เมื่อปฏิกิริยาดําเนินไปสักพัก e- จะหยุดไหลจาก anode ไป
ทีี่ cathode เนือื่ งจาก
• anode: ความเข้มข้นไอออนบวกรอบๆขั้ว anode สููง ดึง e- ที่
anode ไม่ให้ไหลไปที่ cathode
• cathode: ความเข้มข้นไอออนลบรอบๆขั
ๆ ้ว cathode สููง ผลัก
e- ไม่ให้มาที่ cathode
ƒ สะพานเกลอคอสารละลายเกลอทแตกตวงาย
สะพานเกลือคือสารละลายเกลือที่แตกตัวง่าย (KCl,
NaNO3) ทําเป็นกึ่งของแข็งใส่ในแท่งแก้ว มีจุดประสงค์เพื่อ
ป้องกันการสะสมประจในแต่
ปองกนการสะสมประจุ ในแตละครงเซลลไมใหมมากเกนไป
ละครึ่งเซลล์ไม่ให้มีมากเกินไป
และรักษาสภาพเป็นกลางทางไฟฟ้ารอบๆขั้วไฟฟ้าใน
สารละลาย
37
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ชนิดของสะพานเกลือ

38
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
เซลล์สังกะสี-ทองแดง (Zn
(Zn--Cu)
ƒ Anode : Zn(s) → Zn2+(s) + 2e- oxidation
ƒ Cathode: Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) reduction
ƒ Total rxn. Zn(s)+ Cu2+(aq) → Zn2+(s) + Cu(s)

39
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การเขียนแผนภาพของเซลล์แบบย่อ
ƒ แผนภาพเซลล์ (Cell Diagram)
• เซลล์ไฟฟ้าประกอบด้วยสองครึ่งเซลล์
• ครึ่งเซลล์ anode อยูด่ ้านซ้าย (ขั้ว anode อยู่ซ้ายสุด)
• ครึ่งเซลล์ cathode อยูด้านขวา (ขั้ว cathode อยูข่ วาสุด)
• ถ้าต่างวัฏภาคกันให้ใช้เครื่องหมาย | ถ้าเหมือนกันใช้ ,
• ความเข้มข้นของไอออน(สารละลาย)หรือความดัน(แก๊ส)ให้บอกในวงเล็บ
ƒ สะพานเกลอ
สะพานเกลือ
• ถ้ามีสะพานเกลือใช้เครื่องหมาย || กั้นระหว่าง (สารละลายอิเล็กโตรไลท์ของ
สองครึง่ แยกกัน)
สองครงแยกกน)
• ถ้าแผ่นพรุนให้ใช้เครื่องหมาย ,
(สองครึ่งปฏิกิริยาใช้สารละลายอิเล็กโตรไลท์รว่ มกัน)
(สองครงปฏกรยาใชสารละลายอเลกโตรไลทรวมกน)
40
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างแผนภาพของเซลล์แบบย่อ
ƒ Zn(s)|Zn2+(aq)(1.0 M)||Cu2+(aq) (1.0M)|Cu(s)

ƒ Al(s)|Al3+(aq)||Pb2+(aq)|Pb(s)
ƒ Li(s)|Li+(aq)||Cl2(g)|Cl-(aq)|Pt
ƒ Pt|Fe
Pt|F 3+(aq),Fe
( ) F 2+(aq)||Cu
( )||C 2+(aq)|Cu(s)
( )|C ( )
41
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ (Cell potential)


p
ƒ ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์คือแรงเคลื่อนไฟฟ้า(emf)ของเซลล์ที่เกิดจาก
ปฏิกิ ิริยารีีดอกซ์์ หาได้
ไ ้จากศัักย์์ไฟฟ้้าครึึง่ เซลล์์
Ecell = Ered (reduction) + Eox (oxidation)
Ecell = Ered (reduction) − Ered (oxidation)
h lf ll ) = − Eox (halfcell
Ered (halfcell h lf ll ) หาไดจากตาราง
หาได จากตาราง
ศักยไฟฟาศักยรีดักชั่น
Standard Reduction
Reduction Half-Reaction
Potential E° (V)
Na+(aq) + e- → Na(s) -2
2.71
71
Pb2+(aq) + 2e- → Pb(s) -0.13
q) + 2e- → Cu(s)
Cu2+((aq) ( ) +0.34
Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0.80
42
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน

ƒ ศกยไฟฟาของเซลลขนกบความเขมขนของสารละลาย
ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ขึ้นกับความเข้มข้นของสารละลาย
อิเล็กโตรไลต์ ความดัน และ อุณหภูมิ จึงได้มีการกําหนด
เงื่อนไขมาตรฐานขึ้น
เงอนไขมาตรฐานขน
ƒ Standard Condition: 1M, 1atm, 25°C
ƒ ศักย์ไฟฟ้ามาตรฐาน(Standard Cell Potential, E°) ความ
ต่างศักย์ไฟฟ้าของเซลล์ที่วัดที่สภาวะมาตรฐาน
ตางศกยไฟฟาของเซลลทวดทสภาวะมาตรฐาน

43
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ขั้วไฮโดรเจนมาตรฐาน

ƒ ศักย์ไฟฟ้าของเซลล์หาได้จากศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ (Eox & Ered)
ƒ ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์หาได้โดยเทียบกับขั้วไฮโดรเจนมาตรฐาน
(Standard Hydrogen Electrod; SHE)
• 2H+(aq, 1.0 M) + 2e- → H2(g, 1atm)
• || H+(aq,1.0M) | H2(g,1atm) | Pt(s)
• ทสภาวะมาตรฐาน
ที่สภาวะมาตรฐาน EE°red=0
(และในขณะเดียวกัน E°ox=0)

44
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์มาตรฐาน

ƒ การหาศักย์ไฟฟ้าครึ่งเซลล์ทําโดยการวัดเทียบกับ SHE
o
Ecell = Ered
o
(half - cell ) + Eoxo ( SHE )
= Ered
o
(halff - cell )

สภาวะมาตรฐาน:

Šสารบริสุทธิ์
Šความดัน 1 atm
Šความดน
Šสารละลาย1M
Šอุณหภูมิ 25°C

45
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การหาศักย์ครึง่ เซลล์มาตรฐาน

ƒ Zn(s)|Zn2+(aq,1M)||H+(aq,1M)|H2(g,1atm)|Pt
o
Ecell = Ered
o
( H + → H 2 ) + Eoxo ( Zn → Zn 2+ )
+ 0.76 V = 0 + Eoxo ( Zn → Zn 2+ )

Reduction Half-Reaction E° (V)


( )
Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0.80
2H+(aq) + 2e- → H2(g) 0.00
Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) -0.76
Li+(aq) + e- → Li(s) -3.05

46
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
เซลล์ไฟฟ้า(ตัวรีดิวซ์-ตัวออกซิไดซ์)
ƒ Ag+/Ag และ Zn2+/Zn
• Ag+ เกิดรีดักชั่น E°= 0.80 + 0.76 = +1.56 V 9
• Zn2+ เกิดรีดักชั่น E°= -0.76 – 0.80 = -1.56 V 8
• Ag+(aq) +Zn(s) →Ag(s)+Zn2+(aq)
ƒ Li+/Li และ Zn2+/Zn
• Li+ เกิดรีดักชั่น E°= -3.05 + 0.76 = -2.29 V 8
• Zn2+ เกิดรีดักชั่น E°= -0.76 + 3.05 = +2.29 V 9
• Zn2+(aq) + 2Li(s) →Zn(s)+2Li+(aq)
Reduction Half-Reaction E° (V)
Ag+(aq) + e- → Ag(s) +0.80
2H+(aq) + 2e- → H2(g) 0.00
Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) -0.76
Li+(aq) + e- → Li(s) -3.05 47
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ผลของความเข้มข้นต่อค่าศักย์
ƒ ความเขมขนของสารอเลกโตรไลตมผลตอคาศกยไฟฟา
ความเข้มข้นของสารอิเล็กโตรไลต์มีผลต่อค่าศักย์ไฟฟ้า
• Cu(s)+2Ag+(aq)→Cu2+(aq)+2Ag(s)
Šเมื่อ [Ag+] และ [Cu2+] เท่ากับ 1M จะได้ Ecell=E°cell
่ความเข้มข้นอืน่ ๆ Ecellll ≠E
Šทีทความเขมขนอนๆ ≠E°cellll
ƒ ถ้าศักย์ไฟฟ้ามาตรฐานมีค่าน้อย การเปลี่ยนความเข้มข้น
อาจเปลยนทศทางของปฏกรยาได
ป ี่ ิ ป ิิิ ไ ้
• 3Zn(s) + 2Cr3+ → 3Zn3+ + 2Cr(s)
Šที่สภาวะมาตรฐาน E°cell=+0.02 V
Šถ้า [Cr3+]>1 M และ [Zn3+]<1 Ecell<0.0
Šถา <0 0 จะเกดปฏกรยายอนกลบ
จะเกิดปฏิกิริยาย้อนกลับ
48
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ความเข้มข้นและค่าศักย์ของเซลล์
ƒ ความเข้มข้นของอิเล็กโทรไลต์(หรือความดันของแก๊ส) กับค่าศักย์ไฟฟ้าของเซลล์มี
โ สมการของเนินิ สต์์
ความสัมั พัันธ์์กนั และสามารถอธิิบายโดย
ƒ Nernst equation
RT 2.303RT
E = Eo − ln Q = E o − log Q
nF nF
• E ค่า่ ศัักย์์ของเชลล์์ทีส่ ภาวะใดๆ

• R ค่าคงที่ของแก๊ส (8.31J/K)
• Q อตราสวนผลคู
อัตราส่วนผลคณความเข้
ณความเขมขน มข้น (Reaction Quotient)
• -
n จํานวน e ที่มกี ารถ่ายเทระหว่างสองครึ่งเซลล์
• F ค่าคงที่ Faraday (9.6485x104 C/mol) = ประจุุของ e- 1 mole
ƒ ที่ 25 °C จะได้
0.0257 V 0.05916 V
E = Eo − ln Q = E o − log Q
n n
49
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวอย่างการใช้สมการของเนินสต์
ƒ จงหา E° และ E ของเซลล์ไฟฟ้าที่อุณหภูมิ 25 °C
Zn(s)|Zn2+(aq,0.35M)||Cu2+(aq,4.7x10-5M)|Cu(s)|Cu(s)
Zn(s)+Cu2+(aq) →Zn2+(aq)+Cu(s)
ƒ EE° หาจากตารางศกยมาตรฐาน
หาจากตารางศักย์มาตรฐาน (ไมขนกบความเขมขนหรออุ
(ไม่ขึ้นกับความเข้มข้นหรืออณหภมิ
ณหภูม)
E°cell = E°ox+ E°red
= -(-0.76)+0.34
( 0 76) 0 34 = 1.10V
1 10V
Reduction Half-Reaction E° (V)

Zn2+(aq) + 2e- → Zn(s) -0.76


2H+(aq) + 2e- → H2(g) 0.00
Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s) +0.34
50
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างการใช้สมการของเนินสต์ (ต่อ)
ƒ E ที่สภาวะอื่นหาได้จากสมการของเนินสต์
0.0257 V
E = Eo − ln Q
n
aA + bB + K eE + fF + K

Q=
[E ] [F ] K
e f

[A]a [B]b K
Zn(s)+Cu2+(aq) →Zn2+(aq)+Cu(s)
[ Zn 2+ ][Cu ] [ Zn 2+ ]
Q= =
[Cu 2+ ][ Zn] [Cu 2+ ]
ของแข็งและของเหลวบริสุทธิ์มคี วามเขมขนคงที่ ยายไปรวมกับ Q ได
51
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ตัวอย่างการใช้สมการของเนินสต์ (ต่อ)
ƒ แทนค่า Q ในสมการของเนินสต์
ƒ จํานวน e- ที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยา = 2 = n

0.0257 V
E = Eo − ln Q
n
0.0257 V ⎛ 0.35 ⎞
= 1.10 V − ln⎜ ⎟
2 ⎝ 0.000047 ⎠
= 0.99 V

52
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
การประยุุกต์ใช้สมการของเนินสต์
ƒ pH meter
• Glass electrode แทนครึง่ ปฏิกิริยา H2 มี
ความไวต่อความเข้มข้นของ H+
• ขัว้ glass electrode ประกอบด้ว้ ยเส้น้
ลวดเงินเคลือบด้วย AgCl และจุม่ อยูใ่ น
สารละลาย HCl อางอง อ้างอิง
• เมื่อจุม่ ขั้วนี้ใสสารละลาย ศักย์ไฟฟ้าที่
เเกิดขนจ
ขึ้นจะขึขน้นกับค่า ppH ขอ
ของสารละลาย
ส รล ล ย
• บริเวณปลายขัว้ จะเป็นเยื่อบางๆซึ่งทํา
หน้าทีค่ ลายสะพานเกลือ
• ศักย์ไฟฟ้าทีไ่ ด้จะถูกเปลี่ยนเป็นค่า pH
Ag(s)|AgCl(s) HCl (0.1M)|glass|test
Ag(s)|AgCl(s), (0 1M)|glass|test solution||
sol tion||

53
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เซลล์ความเข้มข้น (Concentration Cells)


ƒ ศักย์ของครึ่งปฏิกิริยาขึ้นกับความ
เข้ม้ ข้้นของสารละลายอิิเล็็กโโตรไลต์ ไ ์
ƒ เซลล์ความเข้มข้นคือ เซลล์ไฟฟ้าที่มี
ขัวั้ ไฟฟ้
ไ า้ ชนิดเดียี วกันั จุ่มใน

สารละลายชนิดเดียวกันแต่ความ
เข้ม้ ข้้นต่า่ งกันั
ƒ เมื่อเวลาผ่านไป ความเข้มข้นของ
ไอออนฝั่ง oxidation จะเพิม่ ขึ้น ฝัง่ Oxidation Reduction
reduction จะลดลง จนถึงที่สมดุล Cu(s) → Cu2+(aq) + 2e- Cu2+(aq) + 2e- → Cu(s)

เมือื่ ความเข้ม้ ข้้นทััง้ สองฝังั่ เท่า่ กััน

Cu | Cu2+(0.025M) || Cu 2+(1.50M) | Cu
54
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
การคํานวณของเซลล์ความเข้มข้น
ƒ ปฏิกริ ิยารีดอกซ์ของเซลล์ความเข้มข้น
Š Anode : Cu(s) → Cu2+(aq,0.025M) + 2e-
(aq 1 50M) + 2e- → Cu(s)
Š Cathode : Cu2+ (aq,1.50M)
Rxn. Cu2+(aq, 1.50 M) → Cu2+(aq, 0.025 M)
ƒ ใช้สมการเนินสต์ RT
Ecell = Ecell
o
− ln Q
nF
F
o
Ecell =0 ← เนื่องจาก Ered=Eox
RT RT [Cu 2+ ]Low เกิด oxidation
Ecell =− ln Q = − ln
nF nF [Cu 2+ ]High
g เกิด reduction

55
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การคํานวณของเซลล์ความเข้มข้น (ต่อ)

RT [Cu 2+ ]Low
Ecell = E o
− ln
nF [Cu 2+ ]high
cell

0.0257 V ⎛ 0.025 ⎞
= 0− ln⎜ ⎟
2 ⎝ 1. 50 ⎠
= 0.053 V

ƒ เซลล์ความเข้มข้นมีคา่ ศักย์ไฟฟ้าต่ํา

56
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
อุุณหพลศาสตร์ของปฏิฏกิริยารีดอกซ์
ƒ สภาพเกิดขึ้นได้เอง (Spontaneity )
Q ΔG E
ปปฏิิกิริยาเกิิดขึึน้ เอง <K − +
ที่สมดุุล =K 0 0
ปฏิกิริยาย้อนกลับเกิดขึ้นเอง >K + −
จาก E = Eo −
RT
nF
ln Q

ที่สมดลล
ทสมดุ 0 = Eo −
RT
ln K
nF
RT 2 . 303 RT
Eo = ln K = log K
nF nF
57
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

อุุณหพลศาสตร์ของปฏิฏกิริยารีดอกซ์
− RT ln K = − nFE o = Δ G o
Δ G o = − nFE o
Δ G = w max
ƒ wmax= งานที่มากที่สุดที่ระบบทําได้
ƒ จงหา K ของ 3Ti+(aq) → Ti3+(aq) + 2Ti(s) E°=-1.59 V
2 . 303 RT
Eo = log K
nF
0 . 05916
− 1 . 59 = log K
2
log K = − 53 . 8 → K = 10 − 53 .8 = 1 . 585 × 10 − 54
E เปนลบเกิดขึ้นไมได ดังนัน้ จะได K ทีม่ คี านอยมาก แทบไมมีผลิตภัณฑเกิดขึ้น
58
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
สมดุุลของเคมีไฟฟ้า***
ƒ Zn(s)+ Cu2+(aq) → Zn2+(s) + Cu(s) E°=1.10V
• Zn(s) Zn2+ +2e- step 1
• Cu2+
2 (aq) + 2e- Cu(s) step 2
2 . 303 RT
Eo = log K
nF
0 . 05916 V
1 . 10 V = log K
2
l K = 37 . 19 → K = 10 37 .19 = 1 . 549 × 10 37
log

ทสมดุ [Z 2+]/[Cu
ี่ ลจะมี [Zn ]/[C 2+] = 1.549x10
1 549 1037
59
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เซลล์ไฟฟ้า Voltaic Cell


ƒ เซลล์ไฟฟ้า คือเซลล์ที่เกิดปฏิกิริยารีดอกซ์ได้เองและให้
กระแสไฟฟ้
ไ ้า
ƒ แบตเตอร
แบตเตอรี (battery) คอเซลลไฟฟาหลายๆอนตอเชอมกนแบบ
คือเซลล์ไฟฟ้าหลายๆอันต่อเชื่อมกันแบบ
อนุกรม
ƒ เซลลไฟฟาโดยทวไปมลกษณะตอไปน
เซลล์ไฟฟ้าโดยทั่วไปมีลักษณะต่อไปนี้
Šมีโลหะเป็นขั้วแอโนด
Šมีวสั ดุทมี่ ีเลขออกซิเดชั่นสูงเป็นขั้วแคโทด
Šสารอิเล็กโตรไลต์เป็นสารละลายน้ําหรือสารเปียก(moist paste)

60
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
เซลล์ไฟฟ้า Voltaic Cell
ƒ เซลล์ไฟฟ้าปฐมภูมิ Primary voltaic cell
ปฏิกิริยาผันกลับไม่ได้เมือ่ ให้กระแสไฟฟ้า นํามาใช้ซ้ําไม่ได้
• Acidic Dry Cells (แบตเตอรี่แห้ง)
• Alkaline Dry Cells (ถ่านอัลคาไลน์)
ƒ เซลล์ไฟฟ้าทติุ ยภมิู Secondaryy voltaic cell
ปฏิกิริยาสามารถย้อนกลับเมื่อให้ไฟฟ้าเข้าไป นํามาใช้ซ้ําได้
• Lead storage Battery (เซลลสะสมไฟฟาตะกว)
(เซลล์สะสมไฟฟ้าตะกั่ว)
• Ni-Cd Cell
• Zn AgO Cell
Zn-AgO
• Zn/HgO Cell
• Air Batteries
• Fuel Cells 61
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Acidic Dryy Cells (Leclanché cell)


ƒ Primary Cell ความต่างศักย์ 1.5 V
• Rxn: Zn(s) + 2MnO2(s) + 2NH4+(aq) + 2H2O(l) → Zn2+(aq) +
2NH4OH(aq)q + 2MnO(OH)(s) E°= 1.26 V ?
• Anode: Zn(s) → Zn2+(aq)+2e- E°= 0.76 V
• Cathode: 2MnO2(s) + 2NH4+(aq)+2H2O(l)+2e- → 2NH4OH(s) +
2MnO(OH)(s) E° = 0.50 V
ƒ Electrolyte
El t l t NH4Cl(aq)
Cl( ) + ZZnCl
Cl2(aq)
( ) paste
t
reduction
oxidation

ขั้วสังกะสีผุงายเนื่องจากถููก
ออกซิไดซโดยNH4+
62
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
Alkaline Dryy Cells
ƒ Primary Cell ความต่างศักย์ 1.5 V
ƒ พัฒนาจาก Leclanché cell
• Rxn: Zn(s) + 2MnO2(s) → ZnO(s) + Mn2O3(s) E°= 1.54 V
• Anode: Zn(s) + 2OH-(aq) → ZnO(s) + H2O(l) + 2e-
• Cathode: 2MnO2(s) + H2O(l)+2e- → 2OH-(aq) + Mn2O3(s)
ƒ Electrolyte NaOH,
NaOH KOH
KOH, Zn(OH)2 paste

63
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

เซลสะสมไฟฟ้าตะกั่ว (Pb/Pb2+)
ƒ Secondary Cell ความต่างศักย์ 1.5 V x 6 cells
• Anode: Pb(s) + HSO4-(aq) → PbSO4(s) + H+(aq) +2e-
• Cathode: PbO2(s) + 3H+(aq) + HSO4-(aq) + 2e- → PbSO4(s) +
2H2O(l)
• Rxn:
R n Pb(s) ( ) + 2H+ + 2HSO4-(aq) → 2PbSO4(S) +
Pb( ) + PbO2(s)
2H2O(l) E°= 1.924 V
ƒ Electrolyte
El t l t 38% H2SO4(aq) ( )

64
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
เซลสะสมไฟฟ้าตะกั่ว (Pb/Pb2+) ((ต่ต่อ)
ƒ Discharge (ให้กระแสไฟฟ้า)
• Anode: Pb(s) + HSO4-(aq) → PbSO4(s) + H+(aq) +2e-
• Cathode: PbO2((s)) + 3H+((aq) q) + 2e- → PbSO4((s)) + 2H2O(l)
q) + HSO4-((aq) ()
ƒ Recharge (ใส่กระแสไฟฟ้า)
• AAnode: ( ) + H+(aq)
d PbSO4(s) 2 - → Pb(s)
( ) +2e Pb( ) + HSO4-(aq)
( )
• Cathode: PbSO4(s) + 2H2O(l) → PbO2(s) + 3H+(aq) + HSO4-(aq) + 2e-

65
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Rechargeable
g Cells
ƒ NiCad cell – Cd/NiO2 (1.30 V)
• Rxn: Cd(s)+NiO2(s)+2H2O→Cd(OH)2+2Ni(OH)2(s)
• Anode: Cd(s) + 2OH- → Cd(OH)2 + 2e-
• Cathode: NiO2(s) +2H2O + 2e- → Ni(OH)2(s) + 2OH-
• Electrolyte: KOH
ƒ Mercury Cell – Zn/HgO (1.35 V)
• Rxn: Zn(s) + HgO(s) + H2O → Zn(OH)2 + Hg(l)
• Anode: Zn(s) + 2OH- → Zn(OH)2 + 2e-
• Cathode: HgO(s) + H2O + 2e- → Hg(l) + 2OH-
• Electrolyte:
y KOH

66
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
เซลล์เชื้อเพลิง (Fuel Cells)
ƒ Fuel Cells (0.9-1.0 V)
• Rxn: 2H2 + O2 → 2H2O
• Anode: H2 + 2OH- → 2H2O + 2e-
• Cathode: O2 + 2H2O + 4e- → 4OH-
• Electrolyte: KOH

H2 O2

67
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Lemon Batteryy (simple voltaic cell)


ƒ Oxidation (Zn: anode)
• Zn(s) → Zn+2(aq) + 2 e– E° = +0.76 volts
ƒ Reduction
R d i (Cu:(C cathode)
h d)
• 2 H+((aq)
q) + 2 e– → H2(g) E° = 0.00 volts
• กระแสน้อยมาก!!!

68
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
การผุุ-กร่อน (Corrosion)
ƒ การผุกร่อน:การที่โลหะเกิดการเสื่อมสภาพเนื่องจากปฏิกิริยาเคมี
ƒ โลหะหลายชนิดเกิดปฏิกิริยารีดอกซ์กับออกซิเจน (ถูกออกซิไดซ์)
• โลหะบางชนดเกดปฏกรยากบ
โลหะบางชนิดเกิดปฏิกิริยากับ O2 แลวเกดเปนฟลมแขงเคลอบผว
แล้วเกิดเป็นฟิล์มแข็งเคลือบผิว
ของโลหะและช่วยปกป้องผิวของโลหะ เช่น Al2O3
• เหลกทาปฏกรยากบ
เหล็กทําปฏิกิริยากับ O2 และนา
และน้ํา เกดสนม (rust Fe2O3⋅H2O)
เกิดสนิม (rust,
ŠAnode: Fe(s) → Fe2+ + 2e–
ŠC th d FFe2+ → Fe
ŠCathode: F 3+ + e–
O2(g) + 2H2O + 4e– → 4OH–
Fe3+ + 4OH– → FeO(OH)(s)
( )( ) + H2O(l)
()

69
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การผุุ-กร่อน (ต่อ)
ƒ สนิมจะเกิดได้ดีเมื่อน้ํามีสภาพเป็นกรด
(เช่น จาก CO2ในบรรยากาศ)
ŠAnode:
Š d ( ) + 2H+ → Fe2+ + H2 E°=+0.44
Fe(s) 44 V
ŠCathode: O2(g) + 4H+ + 4e– → 4H2 E°=+1.23 V
(+0.40)
ƒ เกลอในนา(ionic
เกลือในน้ํา(ionic salt)จะชวยเรงกระบวนการเกดสนม
salt)จะช่วยเร่งกระบวนการเกิดสนิม เพราะ
ไอออนเกลือจะทําให้สภาพน้ําไฟฟ้าของน้ําเพิ่มขึ้นและยังทํา
หนาทเปนสะพานเกลอทาใหปฏกรยาเกดไดงาย
้ ี่ ป็ ส ื ํ ใ ป้ ิ ิ ิ ิ ไ ้ ่

70
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
การป้องกันการผุุกร่อน
ƒ ป้องกันไม่ให้โลหะสัมผัสกับน้ําและอากาศ (ทาสี)
ƒ เคลือบโลหะด้วยตะกั่ว จะเกิดสนิมได้ถ้าวัสดุที่เคลือบหลุดไป
ƒ เคลอบโลหะดวยสงกะส
เคลือบโลหะด้วยสังกะสี (Galvanizing)
• สังกะสีจะถูกออกซิไดซ์และเกิดเป็นฟิลม์ Zn2(OH)2CO3(s) ติดแน่นทีผ่ ิว

โลหะและปองกนโลหะจากอากาศและความชน
ป้ ั โ ศ ื้
• ถ้าเกิดกะเทาะหลุด Zn ยังสามารถป้องกันการไม่ให้เหล็กถูกออกซิไดซ์
เนื่องจากมันถกออกซิ
เนองจากมนถู กออกซไดซไดงายกวาเหลก
ไดซ์ได้งา่ ยกว่าเหล็ก (เหลกจะเปนแคโธด)
(เหล็กจะเป็นแคโธด)

71
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การแยกสลายด้วยไฟฟ้า (Electrolysis)
ƒ ปฏิกิริยารีดอกซ์ทเี่ กิดขึ้นเองไม่ได้ (non-spontaneous) สามารถ
ทําให้เกิดได้โดยการใส่กระแสเข้าไป
ƒ Electrolysis คอกระบวนการททาใหกระบวนการเคมเกดขนโดย
คือกระบวนการที่ทําให้กระบวนการเคมีเกิดขึ้นโดย
การป้อนกระแสไฟฟ้าเข้าไปในปฏิกิริยา
ƒ Electrolytic cells คือเซลล์เคมีไฟฟ้าที่เกิด electrolysis
• เซลลทมคา
เซลล์ทมี่ ีค่า E เปนลบ
เป็นลบ
• ต้องป้อนกระแสที่มีความต่างศักย์เท่ากับหรือมากกว่าค่าศักย์ของเซลล์
• ในบางปฏิ
ใ กิ ิริยาจํําเป็็นต้้องใส่
ใ ศ่ ักย์ใ์ ห้้มากขึึน้ เพือื่ ให้
ใ ้เกิิดปฏิิกิริยา
(overpotential) เนื่องจากปัจจัยทางจลนศาสตร์ (เกิดช้า ต้องกระตุ้น
ใ ้เกิดเร็็วขึึน้ )
ให้
72
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
กระบวนการที่เกิดขึ้นในเซลล์อิเล็กโตรไลต์
ƒ ในกระบวนการอิเล็กโตรไลต์มีปฏิกริ ิยาออกซิเดชั่น-รี
ดักชั่นที่อาจเกิดขึ้นได้หลายปฏิกิริยา
• ตวถู
ตัวถกละลาย(ไอออนหรื
กละลาย(ไอออนหรอโมเลกุ
อโมเลกล)
ล)
• ตัวทําละลาย
• ขั้วไฟฟ้า
ƒ การตดสนวาปฏกรยาไหนจะเกดตองดู
การตัดสินว่าปฏิกิริยาไหนจะเกิดต้องดจากค่
จากคาศกยครง
าศักย์ครึ่ง
เซลล์ของปฏิกริ ิยานั้น

73
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Standard Reduction Potential

74
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
Electrolytic
y Cells
ƒ Anode: เกิด oxidation (ขั้วบวก)
ƒ Cathode: เกิด reduction (ขั้วลบ)

75
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Electrolytic
y Cell – NaCl(aq)
q
สารละลาย NaCl
ƒ Electrodes: ขั้วเฉื่อย (Ti)
ปฏกรยาทเปนไปได
ปฏิ กริ ิยาที่เป็นไปได้
ƒ Anode (oxidation) Eox
• Solute: → Cl2(g) +
2Cl- 2e- E°= -1.36 V 8
• Solvent: 2H2O(l) → O2(g) + 4H+ + 4e- E°= -0.82 V 9*
ƒ Cathode (reduction) Ered
• Solvent: 2H2O(l)+2e- → H2(g) g + 2OH- + 4e- E°= -0.42 V 9
• Solute: Na+ + e- → Na(s) E°= -2.71 V 8
ทที่ anode,
d จะเกดแกสคลอรน!
จะเกิดแกสคลอรีน! เนองจาก
เนื่องจาก overpotential
t ti l
ของการเกิดแกสออกซิเจน 76
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
Electrolytic Cell – reactive electrodes
Electrodes*: Cu/Zn
Electrolyte: KNO3/Zn(NO3)2
ปฏิกริ ิยาที่เป็นไปได้
ปฏกรยาทเปนไปได
ƒ Anode (oxidation)
• Electrode: Cu(s) → Cu2+ + 2e- E°= -0.34 V 8
• Solvent: 2H2O(l) → O2(g) + 4H+ + 4e- E°= -0.82 V 9
ƒ Cathode (reduction)
• Solvent: 2H2O(l) + 2e- → H2(g) + 2OH- + 4e- EE°= -00.42 42 V 9
9*
• Solute: Zn2+ + 2e- → Zn(s) E°= -0.76 V 8
ทที่ cathode,
cathode จะZn(s)! เนองจาก
เนื่องจาก overpotential ของ
การเกิดแกสไฮโดรเจน
77
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

ปริมาณสารสัมพันธ์กับเคมีไฟฟ้า
ƒ ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณไฟฟ้ากับปริมาณสารที่
เกิดปฏิกิริยาเคมี
• Ag+ + e- → Ag(s)
ต้องการ e- 1 โมลเพื่อทําให้เกิด Ag 1 โมล
• Cu2+ + 2e- → Cu(s)
ต้องการ e- 2 โมลเพื่อทําให้เกิด Cu 1 โมล
ƒ Faraday, F = ประจุของ e- 1 โมล (6.02x1024 e-)
9 65 x 104 Coulomb
= 9.65
ƒ Coulombs = Amperes
p x seconds (C = A x s)
78
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ตัวอย่างปริมาณสารสัมพันธ์
ƒ ครึ่งปฏิกิริยา Cr3+ + 3e- → Cr(s)
ถ้าใส่กระแสไฟฟ้าขนาด 1.24 A เป็นเวลา 25.0 นาที จะได้
Cr(s) กี่กรัม
• 1mol e- = 9.65 x 104 C
C A× s
mol e − = =
9.65 ×10 4 C/mol 9.65 × 10 4 C/mol
⎛ 1 mol e − ⎞
= 1.24 s × (60 min × 25 min )× ⎜⎜
C s
⎟⎟ = 0.0193
⎝ 9 . 65 × 10 4
C ⎠
Š3 โมล
โ e- เกิดิ Cr(s)
C ( ) 1 โมล

Š0.0193 โมล e- เกิด Cr(s) 0.0193 x 1/3 = 0.00643 โมล
= 0.00643 x 52.0 = 0.335 g
79
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

การประยุุกต์ใช้
ƒ การผลิตโลหะทีม่ ีความว่องไวสูง
• Electrolysis
El l i ของ NaCl
N Cl หลอมเหลว
ŠNa+(l) + e- → Na(l)
Š2Cl-(l) → Cl2(g) + 2e-
ƒ การทําโลหะให้บริสุทธิ์
• โลหะทองแดง 99% → 99.98%
ŠAnode: Cu(s, 99%) → Cu2+ + 2e-
ŠCathode: Cu2+ + 2e- → Cu(s, 99.98%)
ƒ การชุุบโลหะ (Electroplating)
g
Šใช้วัสดุที้ต้องการชุบเป็น cathode
Šเกลือของโลหะ (Ag, Cr, Ni, Au) เป็นสารละลายอิเล็กโตรไลต์
80
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
แบบฝึกหัด 1
ƒ จงดุลสมการรีดอกซ์ต่อไปนี้
• Cl-(aq) + MnO4-(aq) → Cl2(aq) + Mn2+(aq)
• Al(s) + OH-(aq) → Al(OH)4-(aq) + H2(g)
• Zn(s) + NO3-(aq) → Zn(OH)42-(aq) + NH3(aq)
• H2O2(aq) + ClO2(aq) → ClO2-(aq) + O2(g) ในเบส
ƒ จงเรียงลําดับความแรงของตัวรีดิวซ์ต่อไปนี้
Ni, K, H2(เบส), H2, Cr, Fe2+, H2O, Fe, Li
ƒ จงเรียงลําดับความแรงของตัวออกซิไดซ์ต่อไปนี้
Li+, I2, Pb2+, Fe2+, Fe3+, O2, Ni2+
ƒ Li สามารถเป็นตัวออกซิไดซ์ได้หรือไม่เพราะเหตุใด และ Fe3+ เป็นตัว
รีดิวซ์ได้หรือไม่
81
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

แบบฝึกหัด 2
ƒ จงคํานวณหาค่า E° และ ΔG ของปฏิกิริยาต่อไปนี้และระบุว่า
จะเกิดขึ้นเองได้หรือไม่
• Cl2(g) + Cu(s) → Cu2+ + 2Cl-
• 2Ag(s) + Cu2+ → 2Ag+ + Cu(s)
• 2MnO4- + 16H+ +10Br- → 2Mn2+ + 5Br2(l) + 8H2O(l)
• H2(g)
g + Zn2+ → Zn(s) + 2H+
• 3Cr2+ → 2Cr3+ + Cr(S)
• H2O2(aq) C ( ) → Cu
( ) + 2H+ + Cu(s) C 2+ + 2H2O(l)
• Cr3+ + Fe(s) → Cr(S) + Fe3+

82
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
แบบฝึกหัด 3
ƒ จากแผนผังเซลล์ จงวาดรูปของเซลล์นี้ ระบุรายละเอียดต่างๆ
และคํํานวณหาค่า E
• Mg(s)|Mg
g | g2+(aq)||Sn
q || 2+(aq)|Sn(s)
q|
ƒ จงคํานวณหา E และ E° ของปฏิกิริยา
• Al(s)|Al
Al( )|Al3+(aq,1.25M)||Ag
( 1 2 )||A +(aq,0.050M)|Ag(s)
( 0 0 0 )|A ( )
ƒ เซลล์ศักย์ไฟฟ้ามีค่า E = +0.37 V จงหาความเข้มข้นของ
สารละลาย Cu2+
• Cu(s) + 2Ag+(aq,)
(aq ) → Cu2+(aq,)
(aq ) + 2Ag(s)

83
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

คําถาม
ƒ ทําไมเซลล์ simple voltaic ต้องใช้ความเข้มข้นกรดต่ํา ๆ
ƒ ทําไมถ่านไฟฉายบางชนิดถึงชาร์จไฟไม่ได้
ƒ กระบวนการเกิดสนิมเป็น็ galvanic cell หรือไม่

84
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.
ƒ http://www.scribd.com/doc/19509734/Voltaic-Cell
ƒ http://www.docbrown.info/page01/ExIndChem/ExtraElectrochem.htm
ƒ http://www.tutornext.com/help/simple-voltaic-cell

85
ปิติ ตรีสุกล เคมี ศวท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กพส.

Das könnte Ihnen auch gefallen